mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สทน. ร่วมกับ วศ. ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ผลิต “ชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ”

สทน. ร่วมกับ วศ. ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ผลิต “ชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ”

0

             สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) และกรมวิทยาศาสตร์บริการ  ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อผลิตชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ การนำเทคโนโลยีนิวเคลียร์ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาด้านต่างๆ เช่น กระบวนการเคลือบผิวชั้นนอกของดาวเทียมที่โคจรอยู่ในชั้นอวกาศใกล้โลก  และการพัฒนาสูตรยางคอมปาวด์ (Rubber Compound) เพื่อให้มีความแข็งแรงมากขึ้น พิธีลงนามจัดขึ้น ณ ห้องอัครเมธี  ชั้น  6 อาคารตั้ว ลพานุกรม ผู้ร่วมพิธีประกอบด้วย รศ.ดร.ธวัชชัย อ่อนจันทร์ ผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)  นพ.ปฐม  สวรรค์ปัญญาเลิศ  อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ

             รศ.ดร.ธวัชชัย อ่อนจันทร์ ผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน ) เปิดเผยว่า ความร่วมมือระหว่างสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) หรือ สทน. กับกรมวิทยาศาสตร์บริการในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาเพื่อช่วยสนับสนุนการวิจัยพัฒนาด้านเทคโนโลยี งานวิจัยด้านวัสดุศาสตร์ และวัสดุสำหรับอวกาศ การสร้างผลิตภัณฑ์ และหรือนวัตกรรมการนำไปใช้ประโยชน์ภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนดำเนินการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน และพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถให้แก่บุคลากรซึ่งกันและกัน

             ทั้งนี้ เป็นก้าวย่างสำคัญที่จะช่วยยกระดับภาคอุตสาหกรรมของไทยให้มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและมีความเข้มแข็งมากขึ้น เช่น การผลิตชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ สำหรับนำไปใช้ป้องกันรังสีจากการปฏิบัติงานทางรังสี หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากรังสี การพัฒนากระบวนการเคลือบผิว ที่สามารถนำไปใช้ปกป้องผิวชั้นนอกของดาวเทียมที่โคจรในชั้นอวกาศใกล้โลกโดยวิธีการพลาสมา และงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาสูตรยางคอมปาวด์ (Rubber Compound) โดยกระบวนการวัลคาไนซ์ด้วยลำอิเล็กตรอนด้วยวิธีการฉายรังสีเพื่อให้มีความแข็งแรงมากขึ้น 

              สำหรับขอบเขตความร่วมมือ กรมวิทยาศาสตร์บริการจะรับผิดชอบในการจัดเตรียมวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในงานวิจัย และทดสอบสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ศึกษาวิจัย สทน. จะรับผิดชอบการทดสอบสมบัติทางรังสีและปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในงานด้านนิวเคลียร์ และทั้งสองฝ่ายร่วมกันตรวจสอบประสิทธิภาพการใช้งานของวัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากงานวิจัยในสภาวะการใช้งานจริง ความร่วมมือในครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนางานวิจัยด้านวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการสร้างผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรม ยังเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือต่อยอดโครงการวิจัยต่าง ๆ อีกด้วย สำหรับงบประมาณการดำเนินงานทั้งสองฝ่ายจะใช้งบประมาณของแต่ละหน่วยงานตามขอบเขตความร่วมมือ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้ มีกำหนดระยะเวลา 3 ปี

ShareTweetShare
Previous Post

“CHIVID” แอปฯ ช่วยแพทย์เฝ้าระวังและติดตามสังเกตอาการผู้ป่วยในระยะทางไกล

Next Post

“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
21
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
13
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

4 months ago
18
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

5 months ago
13
Load More
Next Post
“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

CPF ใช้ “โพรไบโอติก” ในการเลี้ยงกุ้ง ภายใต้หลัก “3 สะอาด” เพื่อผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย

CPF ใช้ "โพรไบโอติก" ในการเลี้ยงกุ้ง ภายใต้หลัก "3 สะอาด" เพื่อผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.