mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

0

         ปัจจุบันเกษตรกรไทยยังคงพึ่งพาการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งพาราควอตและอาทราซีน เพื่อควบคุมวัชพืชในพื้นที่ทำการเกษตร จากรายงานของสำนักงานเศรษฐกิจทางการเกษตรพบว่าเมื่อปี 2562  ประเทศไทยมีการนำเข้าพาราควอตเกือบ 10 ล้านกิโลกรัม และนำเข้าอาทราซีนเกือบ 3.5 ล้านกิโลกรัม การตกค้างของสารกำจัดวัชพืชเหล่านี้ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตและสุขภาพ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าวิตกกังวลอย่างยิ่ง

          รศ.ดร.ธัญญลักษณ์ ฉายสุวรรณ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี  จุฬาฯ ในฐานะหัวหน้าโครงการวิจัยชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ เพื่อการเกษตรที่ยั่งยืนและปลอดภัย ได้ร่วมมือกับ ผศ.ดร.ลักษณา ดูบาส ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ  ในการพัฒนาชุดตรวจวัดสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ โดยใช้วัสดุคาร์บอนรูพรุนในระดับนาโนเมตรที่สังเคราะห์ได้ ควบคู่กับเทคนิคการวิเคราะห์ด้วยสี เพื่อให้เกิดความแม่นยำในการตรวจวัด ช่วยลดปัญหาจากการตกค้างของสารกำจัดวัชพืช ซึ่งเป็นงานวิจัยของนิสิตปริญญาเอกภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ เป็นการบูรณาการงานวิจัยในสองสาขาเพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหายาฆ่าแมลงที่ปนเปื้อนในน้ำ  ซึ่งทดสอบได้ยาก

รศ.ดร.ธัญญลักษณ์ ฉายสุวรรณ์

         รศ.ดร.ธัญญลักษณ์ กล่าวว่าประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรรม จึงมีการใช้ยาฆ่าแมลงและสารเคมีในการผลิตวัตถุดิบทางการเกษตรเป็นจำนวนมาก สถานการณ์การใช้ยาฆ่าแมลงของเกษตรกรไทย เมื่อปี 2564 ประเทศไทยมีการใช้ยาฆ่าแมลงและสารเคมีต่างๆ ในการทำเกษตรกรรมสูงเป็นอันดับ 7 ของโลก โดยมีการใช้ยาฆ่าแมลงและสารเคมีต่างๆ 0.65 กิโลกรัมต่อไร่ จากงานวิจัยพบว่าสารเคมีประเภทพาราควอตและอาทราซีนเมื่อสะสมในร่างกายมีผลทำให้เป็นโรคพาร์คินสันและโรคมะเร็ง จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการคิดค้นชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ โดยใช้วัสดุดูดซับและเปรียบเทียบสีซึ่งมีความไวในการดักจับสารพาราควอตและอาทราซีนในปริมาณน้อยได้  วัสดุดูดซับและเปรียบเทียบสีดังกล่าวได้จากการสังเคราะห์โพลิเมอร์เฉพาะตัว สามารถเปลี่ยนจากวัสดุอินทรีย์เคมี โดยนำมาเผาในภาวะอากาศเฉื่อยให้มีลักษณะคล้ายถ่าน ได้เป็นคาร์บอนรูพรุนซึ่งรูมีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เส้นผ่าศูนย์กลางของรูพรุนอยู่ในระดับนาโนเมตร และมีความเบามาก  การทดลองที่ผ่านมาได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ในอนาคตจะมีการต่อยอดงานวิจัยโดยนำพื้นผิววัสดุดูดซับไปประยุกต์ใช้กับในการดักจับสารชนิดอื่นได้

          รศ.ดร.ธัญญลักษณ์ กล่าวเพิ่มเติมว่าประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกกว่า 150 ล้านไร่ มีรายได้จากการเกษตรคิดเป็น 10% ของ GDP การที่รัฐบาลได้ผลักดันให้ประเทศไทยก้าวข้ามความเหลื่อมล้ำ การมีรายได้ต่อหัวต่ำ รวมถึงการสนับสนุนเรื่อง Smart Farming หรือเกษตรอัจฉริยะ จึงจำเป็นต้องมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย การพัฒนานวัตกรรมชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ เพื่อการเกษตรที่ยั่งยืนและปลอดภัย จะเป็นประโยชน์อย่างมาก

          ปัจจุบันชุดทดสอบนี้อยู่ในรูปแบบของโมเดลซึ่งสามารถนำไปทดสอบเพื่อการใช้งานได้จริง ผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่ รศ.ดร.ธัญญลักษณ์ ฉายสุวรรณ์ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาฯ โทร.0-2218-4124  อีเมล: thanyalak.c@chula.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

Next Post

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

7 months ago
30
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

7 months ago
28
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

7 months ago
11
เจียไต๋ โชว์นวัตกรรมเกษตรในงาน Chia Tai Field Day 2023 พร้อมเปิดตัว “แตงโมทรงหมอนลูกดำ” เจ้าแรกของไทย
นวัตกรรมด้านเกษตร

เจียไต๋ โชว์นวัตกรรมเกษตรในงาน Chia Tai Field Day 2023 พร้อมเปิดตัว “แตงโมทรงหมอนลูกดำ” เจ้าแรกของไทย

7 months ago
17
Load More
Next Post
เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า "ดูแล"

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    80 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
160

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
56

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
29

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
30
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.