mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

0

คลื่นความถี่ 5G ในประเทศไทย

– 700 MHz รอเปิดให้บริการต้นปี 2564
– 2600 MHz เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์แล้ว ครบ 77 จังหวัด สำหรับลูกค้า AIS และ Truemove H
– 26GHz รับใบอนุญาตมาแล้ว แต่ยังไม่มีการใช้งานจริง รวมถึงอุปกรณ์ก็หาใช้งานยากเช่นกัน

LOW – MID – HIGH BAND แต่ละย่านคืออะไร

    คลื่นความถี่เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการให้บริการเครือข่าย โดยคลื่นที่จะนำมาใช้ใน 5G ก็จะมีช่วงที่กว้างขึ้นกว่ายุค 3G ที่มีเพียงไม่กี่คลื่น และ 4G ที่จะใช้ความถี่ต่ำกว่า 3600 MHz เป็นหลักแต่เมื่อถึงยุค 5G คลื่นความถี่จะเปิดให้ใช้กันขึ้นไปถึงหลัก GHz ซึ่งหมายถึงช่องสัญญาณที่กว้างและใหญ่ขึ้นกว่าเดิมมาก โดยเราสามารถแบ่งคลื่นความถี่ได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ คลื่นความถี่ย่านต่ำ ย่านกลาง และย่านสูง แต่ละย่านมีความแตกต่าง และคาแรคเตอร์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถสรุปมาให้แบบสั้นๆ ได้ประมาณนี้นะครับ

– Low Band (600-900 MHz) : มีระยะสัญญาณกว้างมาก สร้างความครอบคลุมได้พื้นที่ใหญ่ หลายตารางกิโลเมตร แต่มีข้อจำกัดที่ปริมาณคลื่นมีอยู่ไม่มาก จึงทำความเร็ว UL/DL สูงไม่ได้ และมีการแย่งชิงกันสูงจนราคาพุ่งขึ้นไปแพงมาก เพราะลดค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องวางสถานีฐานถี่ๆซ้ำๆ

– Mid Band (1700-6000MHz) : ระยะสัญญาณแม้จะไม่ได้ไกลเท่า Low Band แต่ก็ยังพอนำมาให้บริการตามพื้นที่ชุมชนได้ มีปริมาณคลื่นเยอะประมาณนึงทำความเร็วได้พอประมาณ และราคายังไม่สูงจนต้องคิดหนักหากจะลงทุน

– High Band (>24 GHz) : ระยะสัญญาณครอบคลุมเพียงแค่ไม่กี่ร้อยเมตร ถูกรบกวนได้ง่าย มีความอ่อนไหวสูง แต่ด้วยความที่คลื่นชุดนี้ถูกเปิดนำมาใช้ภายหลัง เพื่อตอบสนองความต้องการคลื่นที่มากขึ้นจึงทำให้มีปริมาณที่มาก และทำความเร็วได้ดี

(ศัพท์น่ารู้ คลื่นย่านต่ำ และกลาง เป็นคลื่นที่ใช้กันมาตั้งแต่ 3G และ 4G จะมีชื่อเรียกว่า Sub-6 ส่วนคลื่นย่านสูงที่เป็นคลื่นใหม่นี้จะมีชื่อเรียกว่า mmWave หรือ Millimetre Wave) 

     คลื่นความถี่ที่แต่ละเครือข่ายนำมาให้บริการในปัจจุบันจะเป็นระบบใบอนุญาตกันแล้วเกือบ 100% โดยใบอนุญาตแต่ละใบจะต้องทำการประมูลเพื่อให้ได้มา ซึ่งจำนวนคลื่นที่แต่ละผู้ให้บริการมีครอบครองอยู่ ก็จะมีดังนี้

หมายเหตุ
*เป็นคลื่นที่ True ได้สัมปทานจาก CAT มาตั้งแต่เมื่อคราวซื้อ HUTCH ปัจจุบันที่เห็น mybyCAT ให้บริการอยู่ก็เป็นการแบ่งความถี่จากชุดนี้มานั่นเอง
**เป็นคลื่นที่ AIS ได้สัมปทานจากทาง TOT มาอีกที และ TOT ก็สามารถใช้สัญญาณและสถานีฐานของ AIS ได้ตามสัดส่วนที่ตกลงกัน
***เป็นคลื่นที่ Dtac ได้สัมปทานจากทาง TOT มาอีกที และ TOT ก็สามารถใช้สัญญาณและสถานีฐานของ Dtac ได้ตามสัดส่วนที่ตกลงกัน

ที่มา : droidsans.com
Share5Tweet3Share
Previous Post

TP-Link เปิดตัว Wi-Fi 6 เพื่อการใช้งานเครือข่ายระดับองค์กร

Next Post

แท็กซี่บินได้ Hyundai และ Uber พัฒนาร่วมกัน

Sirivimon Koncharin

Sirivimon Koncharin

Related Posts

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย
5G

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

3 months ago
15
“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G
5G

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

1 year ago
89
AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย
5G

AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

1 year ago
163
Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC
5G

Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

2 years ago
185
Load More
Next Post
แท็กซี่บินได้ Hyundai และ Uber พัฒนาร่วมกัน

แท็กซี่บินได้ Hyundai และ Uber พัฒนาร่วมกัน

เปิดตัว! NVIDIA A100 80GB GPU ตอบโจทย์งานด้าน AI

เปิดตัว! NVIDIA A100 80GB GPU ตอบโจทย์งานด้าน AI

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    49 shares
    Share 20 Tweet 12
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    44 shares
    Share 18 Tweet 11
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    44 shares
    Share 18 Tweet 11

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
8

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
10

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
15

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
10

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

February 21, 2023
10
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.