mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

0

          หลังจาก AIS ผนึก ZTE Corporation ผู้พัฒนาดิจิทัลเทคโนโลยีระดับโลกจากประเทศจีน ร่วมกันเปิดตัว A-Z Center หรือศูนย์นวัตกรรม 5G แห่งแรกในประเทศไทย เพื่อพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลอย่างต่อเนื่อง ล่าสุด โชว์ผลการทดลอง ทดสอบอีก 1 คุณสมบัติหลักของ 5G คือ URLLC (Ultra-Reliable and Low Latency Communications) ครั้งแรกในไทย ที่เครือข่าย AIS 5G บนคลื่น 2.6 GHz ให้สามารถมีความหน่วงเวลาในการส่งข้อมูลอยู่ที่ระดับถึง 1 มิลลิวินาที

           นายวสิษฐ์ วัฒนศัพท์ หัวหน้าฝ่ายงานปฏิบัติการและสนับสนุนเทคนิคทั่วประเทศ AIS กล่าวว่า “นอกเหนือจากการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอย่างดีที่สุดแล้ว การเดินหน้านำนวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามายกระดับเทคโนโลยี 5G ก็ถือเป็นหน้าที่สำคัญเพื่อรองรับการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัลในอนาคตอย่างยั่งยืน จึงเป็นที่มาของความร่วมมือในการทำงานกับพาร์ทเนอร์ระดับโลกอย่าง ZTE  เพื่อยกระดับโครงข่าย 5G ของไทยให้ก้าวสู่โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลมาตรฐานระดับโลก พร้อมก้าวสู่โครงข่ายอัจฉริยะที่ควบคุมสั่งการได้ด้วยตัวเองแบบ real time (5G Smart Autonomous Network) นำมาสู่โซลูชันหลากหลายรูปแบบเพื่อภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ภาคประชาชน”

         โดยล่าสุดประสบความสำเร็จในการร่วมทดลอง ทดสอบ กับอีกหนึ่งคุณสมบัติหลักของ 5G คือ URLLC  (Ultra-Reliable and Low Latency Communications) ครั้งแรกในไทย ที่ทำให้เครือข่าย AIS 5G บนคลื่น 2.6 GHz สามารถมีความหน่วงเวลาในการส่งข้อมูลอยู่ที่ระดับ 1 มิลลิวินาที เหมาะกับการรับ-ส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น เสถียรมากขึ้น โดยเฉพาะในรูปแบบการใช้งานที่ต้องการความแม่นยำสูง (Critical application) อย่างบริการสำหรับลูกค้าทั่วไป ที่ต้องการความหน่วงต่ำ เช่น Mobile Cloud Gaming ที่ต้องการ Interactive แบบตอบสนองอย่างรวดเร็ว Real Time หรือ สำหรับลูกค้าภาคอุตสาหกรรม เช่น การควบคุมเครื่องจักรในโรงงาน การควบคุมรถยนต์ไร้คนขับ หรือการผ่าตัดทางไกล เป็นต้น”(หมายเหตุ : เทคโนโลยี  5G มีคุณสมบัติสำคัญ 3 แกนหลัก คือ  Enhanced mobile broadband (eMBB), Massive machine type communications (mMTC), และ Ultra-reliable and low latency communications (URLLC) โดยแต่ละคุณสมบัติล้วนเสริมให้ 5G ตอบโจทย์การใช้งานในลักษณะเฉพาะต่างๆ อย่างเหมาะสม)

         นายวสิษฐ์ กล่าวย้ำว่า “ขณะนี้การทดลองในเครือข่าย AIS 5G พร้อมรองรับ URLLC ที่ 1 มิลลิวินาทีเรียบร้อยแล้ว ดังนั้นหากมีการพัฒนาหรือเริ่มนำ Terminal ที่เหมาะสมกับบริการที่ต้องการใช้ความหน่วงต่ำในระดับดังกล่าวเข้ามาให้บริการ ก็จะเท่ากับว่า สามารถใช้บริการได้ทันที”

           นายหาน จือ หมิง ประธาน บริษัท แซดทีอี (ประเทศไทย) กล่าวว่า “ความร่วมมือในฐานะพันธมิตรเชิงยุทธศาสตร์กับ AIS ในการพัฒนาเทคโนโลยี 5G  ทำให้เราเชื่อมั่นว่า ประเทศไทยจะมีขีดความสามารถที่แข็งแกร่งอย่างรวดเร็วจาก นวัตกรรมที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำเอาโครงข่าย 5G มาวางรากฐานด้านการวิจัยและพัฒนา ที่ช่วยทำให้เกิด Use Case ใหม่ๆ ในอนาคตที่พร้อมรองรับทั้งความต้องการของลูกค้าทั่วไปและการเพิ่มโอกาสให้กับภาคอุตสาหกรรม”

ShareTweetShare
Previous Post

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

Next Post

นวัตกรรมการแพทย์ฝีมือคนไทย “วีลแชร์ยืนได้” และ “เครื่องยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G
5G

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

1 year ago
87
AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย
5G

AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

1 year ago
142
Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC
5G

Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

2 years ago
183
5G NR Physical Cell ID (PCI)
5G

5G NR Physical Cell ID (PCI)

2 years ago
970
Load More
Next Post
นวัตกรรมการแพทย์ฝีมือคนไทย  “วีลแชร์ยืนได้” และ  “เครื่องยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย”

นวัตกรรมการแพทย์ฝีมือคนไทย “วีลแชร์ยืนได้” และ “เครื่องยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย”

นวัตกรรมเครื่องสีเปลือกแมคคาเดเมีย  เพิ่มศักยภาพการผลิตและยกระดับรายได้ชุมชน

นวัตกรรมเครื่องสีเปลือกแมคคาเดเมีย เพิ่มศักยภาพการผลิตและยกระดับรายได้ชุมชน

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    52 shares
    Share 21 Tweet 13
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    50 shares
    Share 20 Tweet 13
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    42 shares
    Share 17 Tweet 11
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    39 shares
    Share 16 Tweet 10
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    38 shares
    Share 15 Tweet 10

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

January 27, 2023
4

แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ

January 27, 2023
7

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง

January 27, 2023
7

“แหนแดง” ตัวช่วยลดต้นทุน ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยกระดับการผลิตข้าวเหนียวลุ่มน้ำโขง

January 26, 2023
3

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

January 26, 2023
4
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.