mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

0

     5G SA (5G Standalone) คือการใช้งานบนเครือข่าย 5G เพียงอย่างเดียว โดยปัจจุบันนี้เครือข่าย 5G ที่ให้บริการกันโดยมากจะเป็นแบบ NSA หรือ Non-Standalone หรือเป็นการใช้งานผ่าน core network ของ 4G กันเกือบทั้งหมด โดยลักษณะเช่นนี้ แม้ว่าสัญญาณรับส่งจะเป็นแบบ 5G แต่โครงสร้างพื้นฐานจะยังใช้งานของ 4G อยู่ ทำให้ยังติดปัญหาด้านความเร็วอยู่ ส่วนเหตุผลที่ต้องมี NSA ก่อน SA ก็เนื่องจากการเปลี่ยนโครงสร้างพื้นฐานทั้งหมดให้รองรับ SA จะต้องลงทุน จึงมีการคิดค้น NSA ขึ้นมาช่วยลดค่าใช้จ่าย และสามารถให้บริการ 5G ได้ทันทีโดยไม่ต้องลง Core Network ใหม่ทั้งหมดนั่นเอง

(โดยในปัจจุบัน AIS เป็นโอเปอเรเตอร์รายเดียวในไทยที่ให้บริการแบบ Dual Mode ทั้ง SA/NSA)

ประโยชน์เมื่อเปลี่ยน 5G จาก NSA เป็น SA

       ส่วนสำคัญที่สุดของเครือข่าย 5G แบบ Standalone ก็คือจะทำให้ 1 ใน 3 แกนหลักของ 5G อย่าง uRLLC (Ultra Low Latency) เป็นจริงขึ้นมาได้ โดย SA จะลดความหน่วง (Latency) จาก 4G ลงได้ถึง 60-70% เลยทีเมื่อ Latency ยิ่งน้อย ความหน่วงของเวลาก็จะต่ำตาม เช่น การตอบสนองในเกม อุปกรณ์เครื่องจักรต่างๆที่มีการควบคุมระยะไกล ที่ควรจะมีการหน่วงเวลาให้น้อยที่สุด ตอบสนองต่อคำสั่งได้เร็วที่สุดก็จะสามารถเกิดขึ้นได้จริง

ความแตกต่างของ LATENCY ในเครือข่ายแต่ละแบบ

   – 4G <30ms
   – NSA <15ms
   – SA <10ms

เมื่อ LATENCY ต่ำก้จะสามารถใช้งานบน 5G ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น

   – Latency < 5ms เช่น Automated Driving, IoT, Gaming
   – Latency < 10ms เช่น Augmented Reality, Medical Application
   – Latency < 50ms เช่น Video Analytics

ที่มา : droidsans.com
Share18Tweet11Share
Previous Post

Xiaomi เปิดตัวชาร์จไร้สาย 80W แบต 4,000 mAh เต็มใน 19 นาที

Next Post

TP-Link เปิดตัว Wi-Fi 6 เพื่อการใช้งานเครือข่ายระดับองค์กร

Sirivimon Koncharin

Sirivimon Koncharin

Related Posts

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย
5G

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

3 months ago
15
“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G
5G

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

1 year ago
89
AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย
5G

AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

1 year ago
163
Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC
5G

Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

2 years ago
185
Load More
Next Post
TP-Link เปิดตัว Wi-Fi 6 เพื่อการใช้งานเครือข่ายระดับองค์กร

TP-Link เปิดตัว Wi-Fi 6 เพื่อการใช้งานเครือข่ายระดับองค์กร

ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    49 shares
    Share 20 Tweet 12
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    44 shares
    Share 18 Tweet 11
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    44 shares
    Share 18 Tweet 11

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
8

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
10

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
15

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
10

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

February 21, 2023
10
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.