mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
5G NR Physical Cell ID (PCI)

5G NR Physical Cell ID (PCI)

0

         5G NR Physical Cell ID (PCI) คือค่าทางกายภาพที่ใช้จำแนกแยกระหว่าง5Gเซลล์หนึ่งกับอีกเซลล์หนึ่ง ซึ่งคล้ายกับ PCI LTE และ Scrambling code (SC) ของ 3G ถ้าหากวางแผนไม่ดีจะส่งผลต่อระบบสัญญาณทำให้ประสิทธิภาพเครือข่ายลดลง ซึ่งการวางแผน PCI ของ 5G ถือว่าง่ายกว่า LTE มากเพราะมีจำนวนมากถึง 2 เท่าของ LTE นั่นเอง

5G มี PCI ไม่ซ้ำกันได้ถึง 1008 ค่า เทียบกับ LTE ที่มีเพียง 504 ค่าเท่านั้น ตามสูตรต่อไปนี้

N (1) ID = Secondary Synchronization Signal (SSS) and its range is from {0, 1….335}
N (2) ID = Primary Synchronization Signal (PSS) and its range is from {0, 1, 2}

– หลีกเลี่ยงการชนกันของ PCI

  ตามหลักคือเซลล์ที่อยู่ติดกันไม่ควรมีค่า PCI เดียวกันเพราะเมื่อเกิด synchronized จะทำการเลือกเอาเพียงเซลล์เดียวเท่านั้นและอาจจะเลือกเซลล์ที่ไม่เหมาะสมในการใช้งาน ดังนั้นควรแยกออกจากกันให้ชัดเจนเพื่อให้แน่ใจว่า UE ไม่เคยได้รับ PCI เดียวกันนี้ วิธีจัดการคือเพิ่มระยะห่างการใช้ซ้ำในการวางแผน PCI ให้มากขึ้นเพื่อที่บริเวณใกล้เคียงจะไม่มี PCI ซ้ำ

การชนกันของ PCI มีผลให้เกิดความล้มเหลวในการส่งสัญญาณ (Handover failures)

– หลีกเลี่ยงความสับสนของ PCI

   หลักการของจับคู่ Neighbor ต่อเซลล์ ไม่ควรจับคู่กับเซลล์ที่มีค่า PCI เดียวกันมากกว่าหนึ่งคู่ เพราะหาก UE อยู่ระหว่างเซลล์สองเซลล์ที่มี PCI เดียวกันจะทำให้สถานีฐาน(Base station) เกิดความสับสนว่าเซลล์ไหนคือเป้าหมายในการส่งสัญญาณของ UE การวางแผน PCI ที่มีค่าซ้ำควรจะมีระยะห่างที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดกรณีนี้ขึ้น

– การลดผลกระทบต่อประสิทธิภาพของเครือข่าย

   ขึ้นอยู่กับการออกแบบของสัญญาณชั้นกายภาพที่แตกต่างกัน (PSS, DMRS & SRS) ช่องสัญญาณ (PUSCH, PUCCH) และ ความถี่ของสัญญาณ

ในการวางแผน PCI ควรพิจารณาตาม Mod เพื่อลดการรบกวนของสัญญาณตามหลักการ Mod นี้ UE ไม่ควรรับ PCI หลายตัวพร้อมกันด้วยโหมดต่อไปนี้
  -PCI MOD3
  -PCI MOD4
  -PCI MOD30

ที่มา : techplayon.com
Share4Tweet3Share
Previous Post

ปลั๊กไฟอัจฉริยะควบคุมเปิด-ปิดผ่าน WiFi

Next Post

เรือหลวงแหลมสิงห์

Sirivimon Koncharin

Sirivimon Koncharin

Related Posts

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย
5G

AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

3 months ago
15
“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G
5G

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

1 year ago
89
AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย
5G

AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

1 year ago
163
Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC
5G

Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

2 years ago
185
Load More
Next Post
เรือหลวงแหลมสิงห์

เรือหลวงแหลมสิงห์

นวัตกรรมสุดเจ๋งจากเด็กไทย “สเปรย์สะท้อนน้ำจากแกลบ”

นวัตกรรมสุดเจ๋งจากเด็กไทย “สเปรย์สะท้อนน้ำจากแกลบ”

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    49 shares
    Share 20 Tweet 12
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    44 shares
    Share 18 Tweet 11
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    44 shares
    Share 18 Tweet 11

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
8

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
10

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
15

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
10

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

February 21, 2023
10
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.