mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

0

              AIS เดินหน้าพัฒนาขุมพลังโครงข่ายอัจฉริยะ 5G อย่างต่อเนื่อง หลังจากเริ่มเปิดให้บริการเป็นรายแรกตั้งแต่ ก.พ.63 ด้วยการถือครองคลื่นความถี่มากที่สุด ครบที่สุด ทั้งย่านความถี่ต่ำ กลาง และสูง ครอบคลุมการใช้งานทุกรูปแบบ พร้อมเดินหน้ายกระดับศักยภาพของเครือข่ายด้วยเทคโนโลยีใหม่เพื่อประเทศ มาอย่างต่อเนื่องทั้ง 5G SA – VoNR – 5G CA ล่าสุดได้พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 กิกะบิทต่อวินาที รายแรกในไทย พร้อมส่งต่อประสบการณ์สู่ทุกภาคส่วน

              นายวศิษฐ์ วัฒนศัพท์ หัวหน้าฝ่ายงานปฏิบัติการและสนับสนุนด้านเทคนิคทั่วประเทศ AIS อธิบายว่า “เรายังเดินตามเป้าหมายในการดึงศักยภาพของเครือข่ายอัจฉริยะ AIS 5G ออกมาให้คนไทยได้สัมผัสถึงประสบการณ์การใช้งานที่ดีกว่าในทุกรูปแบบ โดยที่ผ่านมาแม้จะอยู่ในช่วงสถานการณ์ที่มีข้อจำกัดมากมาย แต่ก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคในการทำงานเพื่อยกระดับชีวิตคนไทยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลระดับโลก เราได้พัฒนา 5G NSA/SA จากคลื่นความถี่ย่านกลาง 2600MHz ที่ AIS ได้เปิดให้บริการครั้งแรกในไทย ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ทั้งด้านความเร็ว ความหน่วงต่ำ และได้ต่อยอดด้วยการเปิดใช้งาน VoNR หรือ “Voice over 5G New Radio” เป็นรายแรกของประเทศไทยเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารด้วยเสียงคุณภาพสูงพร้อมความเร็วและแรงบนเครือข่าย 5G”

              ทั้งนี้เพื่อให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์การใช้งานดียิ่งขึ้นเราได้นำย่านความถี่กลาง 2600 MHz และย่านความถี่ต่ำ 700 MHz มาผสมผสานพัฒนาเทคโนโลยี 5G CA เป็นครั้งแรกในโลก ที่สามารถขยายความสามารถในการรับส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น 1.7 เท่า และในครั้งนี้เป็นก้าวสำคัญที่เราจะนำพาวงการเทคโนโลยีไทยให้ก้าวทันการแข่งขันระดับสากล ด้วยความสำเร็จของการทดสอบเทคโนโลยี 5G mmWave หรือ 5G Millimeter wave เป็นครั้งแรกในไทย ที่ได้พัฒนาบนย่านความถี่สูง 26GHz ที่มีจุดเด่นในเรื่องของความเร็วกว่าทุกย่านความถี่

              โดย AIS ได้ทำการทดลองนำย่านความถี่สูง 26GHz มาพัฒนาเทคโนโลยี 5G mmWave ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ สามารถให้ความเร็วสูงถึง 4 กิกะบิทต่อวินาที (ดาวน์โหลด) และความแรงในการส่งสัญญาณได้ไกลกว่า 5 กิโลเมตร ซึ่งทำให้สามารถตอบสนองรูปแบบความต้องการใช้งานที่หลากหลายอาทิ Fix Wireless Access ฯลฯ โดยพร้อมแล้วที่จะเปิดให้คนไทยได้สัมผัสการใช้งานบนดีไวซ์ที่รองรับเทคโนโลยี 5G mmWave บน AIS 5G ทำให้วันนี้เอไอเอสคือ รายแรกและรายเดียวที่มุ่งมั่นสร้างนวัตกรรมเครือข่าย 5G บนทุกย่านความถี่อย่างต่อเนื่อง ตามพันธกิจที่ประกาศไว้ตั้งแต่การเข้าประมูลคลื่น

             “จะเห็นว่า AIS เป็นผู้ให้บริการที่ได้นำคลื่นความถี่ที่มีในมือในทุกย่านมาพัฒนาเพื่อสนับสนุนการเติบโตของภาคธุรกิจในมิติต่างๆ รวมถึงสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านการใช้งานของผู้บริโภคชาวไทยอย่างต่อเนื่อง เพราะเราเชื่อว่าศักยภาพของเทคโนโลยีโครงข่าย AIS 5G จะเป็นแรงขับเคลื่อนการเติบโตของประเทศในภาพรวมที่วันนี้ต้องวางโครงสร้างพื้นฐานให้ครบในทุกด้าน ซึ่งได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าเป้าหมายในการเป็น Digital Life Service Provider ของ AIS ถูกเติมเต็มให้สมบูรณ์ในทุกก้าวของการพัฒนา”

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรมน้ำยาฆ่าเชื้อโรคโควิดใน 1 นาที ฝีมือคนไทย การันตรีสิทธิบัตรระดับชาติ

Next Post

“มหันตมูกะ” นวัตกรรมดูแลผิวสารสกัดสมานเซลล์ ฝีมือคนไทย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G
5G

“อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

9 months ago
67
Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC
5G

Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

2 years ago
166
5G NR Physical Cell ID (PCI)
5G

5G NR Physical Cell ID (PCI)

2 years ago
802
5G Network Slicing
5G

5G Network Slicing

2 years ago
738
Load More
Next Post
“มหันตมูกะ” นวัตกรรมดูแลผิวสารสกัดสมานเซลล์ ฝีมือคนไทย

“มหันตมูกะ” นวัตกรรมดูแลผิวสารสกัดสมานเซลล์ ฝีมือคนไทย

กนอ.-JICA โชว์นวัตกรรม “New Pla-kun” ป้องกันน้ำท่วม นำร่องนิคมอุตฯลาดกระบัง

กนอ.-JICA โชว์นวัตกรรม “New Pla-kun” ป้องกันน้ำท่วม นำร่องนิคมอุตฯลาดกระบัง

Discussion about this post

Popular Post

  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    36 shares
    Share 14 Tweet 9
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    31 shares
    Share 12 Tweet 8
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    26 shares
    Share 10 Tweet 7
  • Bederly : นวัตกรรมเตียงอัจฉริยะเพื่อผู้ป่วยที่นอนติดเตียง

    25 shares
    Share 10 Tweet 6
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    23 shares
    Share 9 Tweet 6

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

นวัตกรรมเตาเผาศพอัจฉริยะ ลดปริมาณสารก่อมะเร็งในอากาศ

August 15, 2022
3

นวัตกรรม “ถุง SEB” ผลิตภัณฑ์ถุงใส่ชิ้นเนื้อแบบเปิดได้เอง นวัตกรรมคนไทย ช่วยแพทย์ลดเวลาผ่าตัด

August 15, 2022
3

ม.มหิดล วิจัยผลิตยางล้อรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน

August 15, 2022
5

สุดยอดนวัตกรรมจาก ม.รังสิต เครื่องวัดระดับน้ำตาลชนิดพกพาแบบไม่ต้องเจาะเลือด

August 10, 2022
12

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องกำจัดขยะอินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้ง สู้วิกฤติ COVID-19 และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

August 10, 2022
4
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.