mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC | ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย
No Result
View All Result
“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

0

             Gogolook ผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่นป้องกันการฉ้อโกงชั้นนำระดับโลก ที่รู้จักกันดีในนาม Whoscall แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จักและป้องกันสแปม มีมากกว่า 90 ล้านผู้ใช้งานทั่วโลก เปิดตัวในประเทศไทยตั้งแต่ ปี 2559 แจ้งเตือนภัยจากกลุ่มผู้ไม่หวังดีที่ออกมาหลอกลวงประชาชนโดยการโทรหาเหยื่อและใช้กลโกงให้เหยื่อหลงเชื่อเพื่อหลอกเอาข้อมูลส่วนตัวที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้

            Gogolook ขอเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มภูมิคุ้มกันทางไซเบอร์และป้องกันภัยเบื้องต้นให้กับประชาชน โดยการตีแผ่คดีอาชญากรรมทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นจริง เพื่อช่วยประชาชนรับรู้เล่ห์เหลี่ยมกลโกงที่อาจเกิดขึ้น เช่น การหลอกลวงทางโทรศัพท์ SMS อีเมลหลอกลวง (Phishing) และข้อความทางโซเชียลมีเดีย ซึ่งพฤติกรรมของคนกลุ่มนี้จะใช้วิธีโทรศัพท์เข้าเบอร์ของเหยื่อแล้วอ้างว่าโทรมาจากหน่วยงานต่างๆ เช่น บริษัทโทรคมนาคม ธนาคาร สถาบันการเงิน บัตรเครดิต หรือจากหน่วยงานภาครัฐ เพื่อหลอกถามข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อ นามสกุล เลขบัตรประชาชน ที่อยู่ บัญชีธนาคาร เลขบัตรเครดิต และหมายเลข OTP เป็นต้น”

             ฐิตินันท์ สุทธินราพรรณ หัวหน้าฝ่ายการตลาด Gogolook ประเทศไทย เผยว่า “ในช่วงที่แกงค์นี้ออกมาหลอกลวงประชาชน เราจะเห็นยอดการดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น Whoscall แบบก้าวกระโดด ซึ่งเทรนด์นี้จะถูกพบเห็นบ่อยครั้งโดยเฉพาะช่วงระหว่างการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ทาง Whoscall ได้ระบุสายหลอกลวงไปมากกว่า 1.8 ล้านสายในประเทศไทยในช่วงเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา เนื่องจากประชาชนอยู่บ้านมากขึ้นและอาจมีการสั่งของที่ต้องรับสายที่ไม่รู้จักมากมาย ซึ่งเบอร์แปลกที่โทรเข้าอาจมาในรูปแบบของผู้ไม่หวังดีที่หลอกเอาข้อมูลส่วนตัวไปทำธุรกรรม หรือหลอกให้โอนเงิน หากเราไม่สามารถระบุตัวตนของคนที่โทรเข้ามาได้”

              ในยุคที่การรู้เท่าทันกลโกงเป็นเรื่องที่เราต้องคอยระวัง แอปฯ Whoscall จึงเป็นแอปที่ควรมีติดมือถือไว้ทุกเครื่องเพื่อเพิ่มความปลอดภัย ป้องกันการฉ้อโกงและความอุ่นใจให้กับตัวเราและครอบครัว อีกทั้งยังช่วยตัดความรำคาญของเบอร์สแปมที่โทรมาเสนอขายสินค้าและบริการต่างๆ ที่เราไม่สนใจอีกด้วย

             จากกรณีที่เกิดขึ้นล่าสุด พฤติกรรมของคนกลุ่มนี้คือโทรไปหลอกลวงประชาชน โดยพูดล่อลวงว่าโทรมาจากบริษัทขนส่งพัสดุชั้นนำแห่งหนึ่ง แจ้งว่ามีพัสดุผิดกฎหมายถูกส่งมา แต่ถูกอายัตไว้ไม่สามารถนำพัสดุออกได้ และขอให้เหยื่อบอกข้อมูลส่วนตัวเพื่อใช้ในการดำเนินการนำพัสดุออก หรือถ้าเหยื่อรู้ทันแจ้งว่าไม่ได้ส่งพัสดุ คนกลุ่มนี้จะอ้างว่าทางบริษัทฯ จะนำข้อมูลไปประสานแจ้งความดำเนินคดีกับตำรวจให้

วิธีป้องกันและรับมือ 

  • ถ้ามีเบอร์ที่ไม่รู้จักโทรมา อย่าให้ข้อมูลส่วนตัวที่สำคัญเด็ดขาด แม้จะถูกปลายสายเร่งรัด เพราะในความเป็นจริงบริษัทหรือองค์กรต่างๆ ส่วนมากจะไม่ใช้วิธีการโทรเพื่อสอบถามข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้

  • ดาวน์โหลด Whoscall แอปพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ทำให้เราสามารถรู้ได้ว่าเบอร์ต้นทางนั้น เป็นเบอร์จากใคร โดย Whoscall มีฐานข้อมูลเบอร์มากกว่า 6 พันล้านเลขหมายทั่วโลก นอกจากนี้ยังสามารถใช้เพื่อบล็อกหมายเลขรบกวนอีกด้วย

  • หากต้องการร้องเรียน ปรึกษาเกี่ยวกับคดีทางไซเบอร์ สามารถแจ้งไปยังคอลเซ็นเตอร์ ศูนย์ PCT สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เบอร์ 1599 หรือ เบอร์ 081-866-3000 ได้ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ ห้วงเวลา 30-16.30 น.

ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดแอปฯ Whoscall ฟรี จาก App Store และ Play Store

             เมื่อติดตั้งและตั้งค่าสำเร็จ Whoscall จะช่วยระบุตัวตนผู้โทรเข้าที่ไม่รู้จัก และยังช่วยสแกนลิงก์ในข้อความ SMS ที่อาจมีอันตรายได้อีกด้วย

ShareTweetShare
Previous Post

สทน. ร่วมกับ วศ. ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ผลิต “ชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ”

Next Post

CPF ใช้ “โพรไบโอติก” ในการเลี้ยงกุ้ง ภายใต้หลัก “3 สะอาด” เพื่อผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

7 months ago
196
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

11 months ago
68
i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

11 months ago
50
Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร

12 months ago
34
Load More
Next Post
CPF ใช้ “โพรไบโอติก” ในการเลี้ยงกุ้ง ภายใต้หลัก “3 สะอาด” เพื่อผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย

CPF ใช้ "โพรไบโอติก" ในการเลี้ยงกุ้ง ภายใต้หลัก "3 สะอาด" เพื่อผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย

“กรุงไทย” ร่วมกับ “สจล.” พัฒนานวัตกรรมเครื่องมือทางการแพทย์แบบครบวงจร เพื่อคนไทยทุกคนสุขภาพดีอย่างยั่งยืน

“กรุงไทย” ร่วมกับ “สจล.” พัฒนานวัตกรรมเครื่องมือทางการแพทย์แบบครบวงจร เพื่อคนไทยทุกคนสุขภาพดีอย่างยั่งยืน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    99 shares
    Share 40 Tweet 25
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    81 shares
    Share 32 Tweet 20
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    79 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    73 shares
    Share 29 Tweet 18
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    72 shares
    Share 29 Tweet 18

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
196

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
80

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
40

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
54

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
48
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.