mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“CHIVID” แอปฯ ช่วยแพทย์เฝ้าระวังและติดตามสังเกตอาการผู้ป่วยในระยะทางไกล

“CHIVID” แอปฯ ช่วยแพทย์เฝ้าระวังและติดตามสังเกตอาการผู้ป่วยในระยะทางไกล

0

             กลุ่ม ปตท. ได้สนับสนุนช่วยเหลือทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคมในการแก้ไขสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 มาอย่างต่อเนื่อง มากไปกว่านั้นสำนักวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IST) สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) ได้พัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ท่ามกลางสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 โดย VISTEC ได้ร่วมมือกับนักพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการแพทย์ บริษัท เมดเอนไซ จำกัด (Medensy) พัฒนาแอปพลิเคชัน “CHIVID” (ชีวิต) ที่เพียบพร้อมด้วยระบบเฝ้าระวังและติดตามสังเกตอาการผู้ป่วยในระยะทางไกล ทั้งกลุ่มผู้ป่วยที่แยกกักตัวที่บ้าน (Home Isolation : HI) กักตัวในชุมชน (Community Isolation : CI) และโรงพยาบาลสนาม โดยแอปพลิเคชันผ่านการออกแบบและปรับปรุงให้มีความสะดวกในการใช้งานสำหรับผู้ป่วยเพื่อส่งข้อมูลเข้าระบบ และระบบคัดกรองอาการโดยใช้ AI ซึ่งเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงเข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูลก่อนการวินิจฉัยโดยแพทย์ ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแบ่งเบาภาระของแพทย์ได้อย่างดี

             จุดเด่นของแอปพลิเคชันนี้คือมีฟังค์ชันอำนวยความสะดวกให้กับบุคลากรทางการแพทย์มากมาย เช่น มีระบบการจัดระเบียบคนไข้ที่สามารถแยกผู้ป่วยตามทีมรักษาหรือพื้นที่รับผิดชอบได้เพื่อให้ดูแลและติดตามผู้ป่วยได้ง่าย มีระบบแจ้งเตือนไปยังแพทย์และทีมดูแลทันทีเมื่อผู้ป่วยมีผลอาการที่แย่ลง และยังมีฟังก์ชันที่อำนวยความสะดวกแพทย์อื่น ๆ เช่น พิมพ์เวชระเบียน ออกใบรับรองแพทย์ สั่งและบันทึกสถานะของการจัดส่งยาและอุปกรณ์ อีกทั้งยังมีหน้า dashboard ที่ใช้สำหรับดูภาพรวมผู้ป่วยในแต่ละวันวันต่อวันได้อีกด้วย

               ในส่วนของผู้ป่วยก็สามารถใช้งานได้ง่าย ๆ สะดวกสบายไม่แพ้กัน สามารถใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่น LINE ตั้งแต่การลงทะเบียน การส่งข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดูแลรักษา ข้อมูลอาการป่วยรายวันผ่านแบบฟอร์มที่ง่ายต่อการกรอกข้อมูล เพียงถ่ายรูปค่าจากหน้าจอ pulse oximeter รุ่นอะไรก็ได้ ซึ่งระบบมีการนำ AI-base feature ชื่อ PACMAN เข้ามาช่วยในการแปลผลภาพถ่ายเป็นตัวเลขให้อัตโนมัติพร้อมคำแนะนำ การมี AI เข้ามาช่วยในการกรอกข้อมูล ช่วยให้ง่ายต่อการอัพเดทอาการป่วยรายวัน อีกทั้งยังช่วยลดภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการประมวลผลข้อมูลผู้ป่วยอีกด้วยมีระบบแจ้งเตือนไปยังแพทย์แล้วถ้าหากผู้ป่วยคนไหนส่งความคืบหน้าอาการมา แล้วอาการไม่ดีระบบก็จะแจ้งเตือนไปยังแพทย์และทีมดูแลทันที และยังมีฟังค์ชันอื่นๆเช่น พิมพ์เวชระเบียนเพื่อใช้เบิกจ่าย ออกใบรับรองแพทย์ สั่งและบันทึกสถานะของการจัดส่งยาและอุปกรณ์ อีกทั้งยังมีหน้า dashboard ที่ใช้สำหรับดูภาพรวมผู้ป่วยในแต่ละวันวันต่อวันได้อีกด้วย

           แอปพลิเคชั่น CHIVID ได้รับ Cloud Credits จาก Amazon AWS, Microsoft Azure และมีการนำไปใช้ติดตามดูแลผู้ป่วยแยกกักตัวที่บ้าน กักตัวในชุมชน และโรงพยาบาลสนาม อาทิ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน โรงพยาบาลบางปะกง โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

              อย่างไรก็ดี สำนักวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) และ Medensy มีความตั้งใจที่จะเพิ่มขีดความสามารถของแอปพลิเคชันดังกล่าวให้สูงขึ้นไปอีก ด้วยการพัฒนาโมเดล AI ให้สามารถคัดกรองและติดตามผู้ป่วยโรคโควิด 19 ได้รวดเร็วและแม่นยำมากยิ่งขึ้น พร้อมเพิ่มฟีเจอร์ใหม่ ๆ บนแอปพลิเคชัน CHIVIDเช่น ฟีเจอร์ “วิดีโอการหายใจของผู้ป่วย” ที่จะช่วยประมาณค่าอัตราการหายใจจากคลิปวิดีโอแบบอัตโนมัติ ฟีเจอร์ “ข้อมูลสัญญาณชีพ” (Vital Sign) ของผู้ป่วยในแต่ละช่วงเวลา เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์และทำนายอาการของผู้ป่วยว่ามีแนวโน้มที่จะดีขึ้นหรือแย่ลงภายในจำนวนกี่วัน ฟีเจอร์ “ข้อมูลการ label” สถานะของผู้ป่วยจากแพทย์ ที่เก็บข้อมูลการตัดสินใจและประสบการณ์ของแพทย์เพื่อนำมาพัฒนาระบบการเปลี่ยนสถานะของผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้น รวมไปจนถึงฟีเจอร์ “ข้อมูลการจ่ายยาโดยแพทย์” เพื่อนำมาสร้างระบบแนะนำการสั่งยาสำหรับบุคลากรทางแพทย์ที่ยังไม่มีประสบการณ์

              ท่ามกลางการทุ่มเทอย่างหนักของบุคลาการทางการแพทย์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด ต้องยอมรับว่า แอปพลิเคชัน CHIVID คืออีกหนึ่งตัวช่วยซึ่งเข้ามาแบ่งเบาภาระของบุคลากรทางการแพทย์ได้อย่างน่าชื่นชม นอกจากนั้นแล้ว แอปพลิเคชันตัวนี้ยังมีศักยภาพที่สามารถจะพัฒนาการทำงานให้มีประโยชน์ใช้งานในระบบการดูแลสุขภาพของประเทศได้อย่างกว้างขวาง โดยการต่อยอดให้ AI สร้างโมเดลทำนายสำหรับการวินิจฉัยโรคเพื่อพัฒนา Remote Health Monitoring ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อประเทศไทยในอนาคต

ShareTweetShare
Previous Post

สวทช. พัฒนาเทคโนโลยียกระดับอุตสาหกรรมการผลิตอ้อยและน้ำตาล สู่การทำน้อยแต่ได้มาก

Next Post

สทน. ร่วมกับ วศ. ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ผลิต “ชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
81
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
สทน. ร่วมกับ วศ. ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ผลิต “ชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ”

สทน. ร่วมกับ วศ. ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ผลิต "ชุดป้องกันรังสีจากยางธรรมชาติ"

“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

“Whoscall” แอพพลิเคชั่นระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก ป้องกันการหลอกลวงทางโทรศัพท์

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.