mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

0

         สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) แถลงข่าวเปิดนโยบายทิศทางการบริหาร “สวทช. ยุค 6.0” โดยตั้งเป้าขับเคลื่อน สวทช. เป็น “ขุมพลังหลักด้านการวิจัย” ในการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม พร้อมผนึกหน่วยงานพันธมิตรพัฒนา “ระบบนิเวศวิจัยและนวัตกรรม” ให้เข้มแข็ง เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยสู่การใช้งานจริง นำพาเศรษฐกิจไทยให้เติบโตอย่างก้าวกระโดดและยั่งยืน และยังเร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลักดันให้งานวิจัยเกิดเป็นรูปธรรม พร้อมผลิตเป็นนวัตกรรมส่งออกสู่ตลาดทั้งในและต่างประเทศ

          ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการ สวทช. กล่าวว่า ถึงแม้โลกจะพัฒนามาในยุคดิจิทัล แต่ปัญหาของงานวิจัยในประเทศไทยจำนวนมากยังไม่สามารถผลักดันไปสู่การใช้จริงในภาคส่วนต่าง ๆ ได้ และประเทศไทยยังขาดนักวิจัยอยู่มาก นอกจากนี้ สังคมไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายความว่า ไทยกำลังจะขาดแรงงานเพราะแรงงานที่มีอยู่ค่อย ๆ ทยอยเกษียณ ทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และภาคบริการ โดยแรงงานที่มีแนวโน้มความต้องการสูงขึ้นมากในระยะยาว คือ “แรงงานในภาคบริการ” และแรงงานประเภท “แรงงานทักษะสูง” ในอุตสาหกรรมไฮเทคต่าง ๆ ที่ต้องมีนักวิจัยเป็นผู้ช่วยดำเนินการ ซึ่งมันสวนทางกับโลกที่มีความพร้อมเรื่องเทคโนโลยี ต้องการคนรุ่นใหม่ผสานงานกับคนรุ่นเก่าเพื่อขับเคลื่อนเมืองยุคดิจิทัล ดังนั้น สวทช. ยุค 6.0 จึงกำหนดนโยบายที่เรียกว่า “NSTDA Core Business” ขึ้นมา เพื่อใช้ผลักดันให้งานวิจัยให้มากขึ้น สามารถต่อยอดสร้างประโยชน์ได้ และยังช่วยประชาสัมพันธ์ให้ภาคเอกชนที่มีทุนหรือมีกำลัง มีแนวคิดใหม่ ๆ เข้ามาทำงานร่วมกันในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 

        ในเฟสแรกได้คัดเลือกงานวิจัยที่ตอบโจทย์ความต้องการของสังคมและเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศมี และยังคงจะพัฒนาแพลตฟอร์มที่ทำสำเร็จแล้วต่อไป ได้แก่

  • Traffy Fondue แพลตฟอร์มบริหารจัดการปัญหาเมือง 

  • Digital Healthcare Platform แพลตฟอร์มแก้ปัญหาการบริการด้านสาธารณสุขของประเทศ  

  • FoodSERP แพลตฟอร์มให้บริการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชัน ผลิตภัณฑ์เวชสำอาง และผลิตภัณฑ์กลุ่มสารให้ประโยชน์เชิงหน้าที่ (Functional ingredient) ในรูปแบบ One stop service 

  • Thailand i4.0 Platform แพลตฟอร์มให้บริการ Digital Transformation สำหรับภาคอุตสาหกรรมการผลิตแบบครบวงจร

          NSTDA Core Business มีเป้าหมายสำคัญ คือ การขับเคลื่อนองค์กร และต้องให้ภาคส่วนต่าง ๆ นำความรู้ เครื่องมือ เพื่อนำวิจัยแก้ปัญหาด้านภาคอุตสาหกรรมที่เป็นโจทย์สำคัญเร่งด่วนของประเทศ และที่สำคัญคือ ประชาชนและชุมชนต้องเข้าถึงงานวิจัยที่ใช้ได้จริง 

         “สำหรับโครงการ Traffy Fondue ถือเป็นงานวิจัยจากหิ้งสู่ห้างที่นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง ประชาชนสามารถเข้าถึงแพลตฟอร์มนี้ได้ผ่านการเข้ามาร้องทุกข์ โดยที่ผ่านมาได้ช่วยบริหารจัดการเมืองไปหลากหลายด้าน ซึ่งก็มีแพลตฟอร์มอื่น ๆ เช่น FoodSERP ที่คอยให้บริการแก่ผู้ประกอบการอาหาร และเวชภัณฑ์ ซึ่งเรายังต้องการงานวิจัยอีกมากที่จะมาช่วยพัฒนาเมือง” ผอ. สวทช. กล่าว

          สำหรับอุตสาหกรรมไทยที่ต้องการวิจัยเร่งด่วนเพื่อนำไปแก้ปัญหาภายในประเทศ แบ่งออกเป็นแต่ละด้านดังนี้ 

  • เกษตรและอาหาร 

  • สุขภาพและการแพทย์ 

  • พลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ

  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 

          ทั้งนี้ การจัดการในแต่ละด้านจะเน้นดำเนินงานการพัฒนาภายใต้ โมเดลเศรษฐกิจบีซีจี ประกอบด้วย เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว และแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 

          “สำหรับนโยบาล NSTDA Core Business ระยะแรกจะมุ่งเน้นภาคเอกชนที่มีความพร้อม และเน้นหน่วยงานในพื้นที่ก่อน เช่น กรุงเทพมหานคร ที่มีการปูความเป็นเมืองนวัตกรรมอยู่ก่อนแล้วให้มีสิ่งต่าง ๆ มากขึ้น ซึ่งทีมสวทช.อยากขอความร่วมมือไปยังภาคเอกชนที่มีทุน หรือต้องการวิจัย สามารถเข้ามาปรึกษา พูดคุย วิจัยร่วมกับนักวิจัยของสวทช.ได้ เพื่อสร้างนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ออกสู่ตลาดได้มากยิ่งขึ้น” 

ShareTweetShare
Previous Post

วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

Next Post

วิศวะฯ มหิดล เปิดศูนย์นวัตกรรมการแพทย์ หนุนไทยเป็นเมดิคัลฮับ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เทศบาลนครปฐมนำร่อง “ระบบรับฟังเสียงประชาชน AI” ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ “Smart City”
Innovation

เทศบาลนครปฐมนำร่อง “ระบบรับฟังเสียงประชาชน AI” ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ “Smart City”

6 months ago
16
แอปพลิเคชัน POLICE PLUS ใช้เทคโนโลยีสู่การแพทย์วิถีใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ
Innovation

แอปพลิเคชัน POLICE PLUS ใช้เทคโนโลยีสู่การแพทย์วิถีใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ

7 months ago
8
7 เทคโนโลยี คว้าใจผู้ประกอบการรับต่อยอดเชิงพาณิชย์
Innovation

7 เทคโนโลยี คว้าใจผู้ประกอบการรับต่อยอดเชิงพาณิชย์

7 months ago
17
NIA เผยไทยครองอันดับ 43 ดัชนีนวัตกรรมโลกปี 2565
Innovation

NIA เผยไทยครองอันดับ 43 ดัชนีนวัตกรรมโลกปี 2565

8 months ago
7
Load More
Next Post
วิศวะฯ มหิดล เปิดศูนย์นวัตกรรมการแพทย์ หนุนไทยเป็นเมดิคัลฮับ

วิศวะฯ มหิดล เปิดศูนย์นวัตกรรมการแพทย์ หนุนไทยเป็นเมดิคัลฮับ

นวัตกรรมลูกตาประดิษฐ์ สื่อการสอนผลิตจักษุแพทย์คุณภาพ

นวัตกรรมลูกตาประดิษฐ์ สื่อการสอนผลิตจักษุแพทย์คุณภาพ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.