mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มทร.ธัญบุรี คิดค้นนวัตกรรม เครื่องแยกเส้นใยผักตบชวา

มทร.ธัญบุรี คิดค้นนวัตกรรม เครื่องแยกเส้นใยผักตบชวา

0

             ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มานพ แย้มแฟง นายจงใจ ชัยจันดี นายศุภกิจ ซ่อนกลิ่น และนายธนัสพงษ์ วรรณคำ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ ออกแบบและสร้างเครื่องแยกเส้นใยผักตบชวา ลดเวลาและแรงงานคนในการแยกเส้นใยจากผักตบชวา

             ผศ.ดร.มานพ เล่าว่า มีการนำผักตบชวามาจักรสานเป็นการเพิ่มมูลค่า โดยผักตบชวามีส่วนประกอบของเส้นใย สามารถนำเส้นใยไปผ่านกระบวนการขึ้นรูปเป็นเส้นด้ายทอเป็นผืนผ้า นำไปตัดเย็บเป็นเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า และหมวก การเพิ่มมูลค่าเส้นใยผักตบชวา สู่เชิงพาณิชย์ของจังหวัดปทุมธานี ทีมนักวิจัยจากคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ก่อนที่ผักตบชวาเป็นเส้นใย ต้องใช้เครื่องจักรขูดต้นผักตบชวาให้เป็นเส้นใย ทางอาจารย์และนักศึกษาภาควิศวกรรมเครื่องกล ได้นำปัญหาดังกล่าวมาการออกแบบและสร้างเครื่องแยกเส้นใยผักตบชวา

             โดยจุดเด่นของเครื่องอยู่ที่ชุดใบขูด ด้วยขนาดผักตบชวาโคนใหญ่ปลายเล็กถ้าตั้งระยะมันไม่เหมาะสม ระยะชิดเกินไปใส่โคนผักตบทำให้ขาด ถ้าตั้งระยะห่างเกินไปถึงช่วงปลายของผักตบชวาถ้าไม่สามารถขูดเส้นใยได้ นำปัญหาตรงนี้มาออกแบบชุดใบขูด ทุกใบขูดขณะทำงานสามารถปรับเคลื่อนไหวได้ตลอดเวลา ปรับตามขนาดของวัสดุที่ใส่เข้าไปลงไปอัตโนมัติ ใช้งานไปนาน ๆ ใบสึกสามารถสลับด้านได้ หรือสามารถถอดออกมาเจียรแล้วนำใส่ใหม่ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปใช้กับวัสดุธรรมชาติชนิดอื่น เช่น กาบกล้วย ปัจจุบันได้จดสิทธิบัตรเครื่องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว นำเครื่องไปทดลอง พื้นที่ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ได้รับทุนวิจัยสนับสนุนงบวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) นำไปทดสอบร่วมกับชุมชน เป็นประโยชน์มีการวิเคราะห์สังเคราะห์ ปรับเครื่องตามเงื่อนไขที่ชาวบ้านหรือว่าผู้ใช้งานเอาไปใช้ประโยชน์ตรงนี้มันจะเป็นประโยชน์ ซึ่งราคาเครื่องจะอยู่ประมาณ 40,000 – 45,000 บาท

              ทางด้าน นายจงใจ ชัยจันดี เพิ่มเติมว่า ส่วนประกอบหลัก 4 ส่วน คือ โครงสร้างเครื่อง ชุดขูดลำต้น ชุดส่งกำลัง ช่องระบายเศษลำต้น การออกแบบและสร้างเครื่องแยกเส้นใยจากผักตบชวานี้ได้ดำเนินการออกแบบสร้าง ทดสอบ และประเมินผล โดยการออกแบบหลักจะคำนึงถึง ความเร็วรอบที่ใช้ในการแยกเส้นใยจากผักตบชวา สมรรถนะในการทำงานของเครื่อง และคุณภาพของเส้นใย จากการทำงานของเครื่องแยกเส้นใยจากผักตบชวา 1 ชั่วโมง คิดเป็นค่าไฟฟ้า ชั่วโมงละ 1.78662 บาท ในการใช้งานเครื่องแยกเส้นใยจากผักตบชวา 8 ชั่วโมงต่อวัน คิดเป็นเงิน 14.29 บาทต่อวัน หรือ 428.7 บาทต่อเดือน

            สอบถามรายละเอียดได้ที่ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบรี ผศ.มานพ โทร.086-663-4562

ShareTweetShare
Previous Post

นาโนเทค จับมือ GPSC นำนวัตกรรมสารเคลือบนาโนสำหรับพื้นผิวเซลล์แสงอาทิตย์ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า

Next Post

ระบบตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนด้วย AI

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
44
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
36
Load More
Next Post
ระบบตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนด้วย AI

ระบบตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนด้วย AI

นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.