mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

0

              นิสิตปริญญาโท วิศวฯ จุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสเยื่อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดต้นทุน เพิ่มคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อ หวังต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

              ในห้องเรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรารู้จักเซลลูโลสว่าเป็นโครงสร้างหลักในผนังเซลล์ที่พบได้ทั่วไปในพืช เกิดจากการสังเคราะห์ตามธรรมชาติ มีคุณสมบัติดูดซับน้ำได้ดี ยืดหยุ่นสูง ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ และไม่เป็นพิษต่อเซลล์เนื้อเยื่อของร่างกายมนุษย์ แต่ในห้องวิจัยวิศวกรรมเคมี “เซลลูโลส” ประยุกต์เป็นได้มากกว่านั้น

              “ด้วยคุณสมบัติเด่นๆ เหล่านี้ เซลลูโลสจึงเป็นที่สนใจในวงการวิจัย ในฐานะวัสดุชีวฐาน (bio-based materials) ที่ใช้ทดแทนพลาสติกได้” นายบัณฑิตย์ ศิริผลวุฒิชัย นิสิตระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้วิจัย “เซลลูโลสนาโนคริสตัลและเซลลูโลสอสัณฐานจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์เชิงพาณิชย์” กล่าว

นายบัณฑิตย์ ศิริผลวุฒิชัย

             ที่ผ่านมา ใบสับปะรดและชานอ้อยเป็นผลิตผลทางการเกษตรที่ถูกนำมาแปลงเป็นเซลลูโลสเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์ แต่มีปัญหาเรื่องต้นทุนสูงและมลพิษมาก นายบัณฑิตย์จึงวิจัยผลิตเซลลูโลสจากเยื่อยูคาลิปตัสฟอกขาว เพื่อลดปัญหาดังกล่าว

            “ส่วนใหญ่ การผลิตเซลลูโลสนิยมใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ใบสับปะรด หรือชานอ้อย ซึ่งมีขั้นตอนกระบวนการกำจัดสิ่งสกปรกและฟอกสีเส้นใย ที่ต้องให้ความร้อน ใช้เวลานาน และใช้สารเคมีจำนวนมาก ทำให้เกิดของเสียปริมาณมาก ต้นทุนการผลิตสูง ไม่คุ้มค่าต่อการผลิตเชิงพาณิชย์ ดังนั้น ในงานวิจัย เราจึงเลือกใช้เยื่อยูคาลิปตัสฟอกขาว ซึ่งหาได้ง่ายในประเทศ ราคาไม่แพง อีกทั้งสามารถลดขั้นตอนในการกำจัดสิ่งสกปรกและการฟอกสีได้ด้วย เนื่องจากเยื่อยูคาลิปตัสผ่านกระบวนการจากโรงงานอุตสาหกรรมกระดาษเรียบร้อยแล้ว” นายบัณฑิต กล่าว 

             เยื่อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุตั้งต้นในอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษ สามารถผลิตได้ในประเทศ มีต้นทุนต่ำ และสามารถนำมาแปรรูปเป็นเซลลูโลส สร้างมูลค่าเพิ่มและต่อยอดไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่นๆ อาทิ บรรจุภัณฑ์ด้านการแพทย์ หรือการบำบัดน้ำเสีย

             “นอกจากนี้ ในงานวิจัยเรายังได้ผสมเซลลูโลสกับซิงค์ออกไซด์ (Cellulose ZnO Nanocomposite) และเซลลูโลสกับซิลเวอร์ฟอสเฟต (Cellulose silverphosphate Nanocomposite)  เพื่อให้มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อและยึดเกาะพื้นผิวได้ดี”

               ด้วยคุณสมบัติพิเศษที่เพิ่มเติมเข้าไป นายบัณฑิตย์ กล่าวทิ้งท้ายว่าเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสสามารถนำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ได้มากมาย อาทิ สเปรย์พ่นเสื้อผ้าและหน้ากากอนามัย แผ่นแปะสิว ฟิล์มแปะแผลแอนตี้แบคทีเรีย บรรจุภัณฑ์อาหารป้องกันการเกิดเชื้อราช่วยยืดอายุอาหาร ไปจนถึงการใช้ร่วมกับกระบวนการบำบัดน้ำเสียที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

ShareTweetShare
Previous Post

ระบบตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนด้วย AI

Next Post

Traffy Fondue นวัตกรรม Smart City จบปัญหาเมืองในแพลตฟอร์มเดียว

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

3 months ago
30
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
36
แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ

4 months ago
19
วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

4 months ago
29
Load More
Next Post
Traffy Fondue นวัตกรรม Smart City จบปัญหาเมืองในแพลตฟอร์มเดียว

Traffy Fondue นวัตกรรม Smart City จบปัญหาเมืองในแพลตฟอร์มเดียว

สำเร็จ! ข้อสะโพกเทียมฝีมือคนไทย เพื่อผู้สูงวัยเดินได้

สำเร็จ! ข้อสะโพกเทียมฝีมือคนไทย เพื่อผู้สูงวัยเดินได้

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.