mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC | ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย
No Result
View All Result
ระบบตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนด้วย AI

ระบบตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนด้วย AI

0

              สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มอบรางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับประกาศเกียรติคุณ ประจำปี 2565 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ แก่ ดร.ธนพงศ์ อินทระ และคณะ แห่งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากผลงาน “ระบบตรวจจับบุคคลอำพรางอาวุธปืนผ่านการวิเคราะห์ภาพวิดีโอจากกล้องวงจรปิด” ซึ่งเป็นผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวมในการป้องกันอาชญากรรมที่จะเกิดขึ้น 

               จากสถานการณ์การก่ออาชญากรรมในปัจจุบันทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยฉพาะในพื้นที่เสี่ยงที่ประสบปัญหาบ่อยครั้ง เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านทอง และธนาคาร แม้ว่าในปัจจุบันกล้องวงจรปิดหรือกล้อง CCTV เป็นที่นิยมและมีการใช้งานอย่างแพร่หลาย เพื่อเฝ้าระวังและติดตามดูสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสถานที่นั้น แต่ไม่สามารถแจ้งเตือนหรือตรวจจับได้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ คือเหตุการณ์อะไร ทำให้กล้อง CCTV ถูกนำไปใช้ประโยชน์เพื่อบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงเท่านั้น

              ดร.ธนพงศ์ อินทระ หัวหน้าคณะวิจัย กล่าวว่า การก่ออาชญากรรมเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ทำให้เกิดความสูญเสียเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นเหตุให้ห้างสรรพสินค้า ร้านทอง และธนาคาร ต้องมีการทำประกันภัยอาชญากรรมเพื่อที่จะได้รับการชดเชยหากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการชดเชย ไม่อาจชดเชยชีวิตที่อาจมีการสูญเสียไปได้ ทางคณะผู้วิจัยจึงพัฒนา ระบบสำหรับตรวจจับบุคคลที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืนโดยการวิเคราะห์วิดีโอจากกล้อง CCTV แบบ Realtime ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) แบบการประมวลผลเชิงลึก (Deep Learning) โดย AI จะตรวจจับสิ่งที่อยู่ในเหตุการณ์ ซึ่งจะระบุทั้งบุคคลที่มีพฤติกรรมปกติ และที่แสดงพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงในการอำพรางอาวุธปืน โดยการระบุว่าเป็นบุคคลกลุ่มใดจะใช้การประมวลผลเชิงลึก ในการแบ่งแยกบุคคลที่แสดงพฤติกรรมที่ต่างกัน และแจ้งเตือนไปยังบุคคลที่ระบุให้ได้รับข้อความแจ้งเตือน เพื่อดำเนินการป้องกันหรือระงับเหตุต่อไป ปัจจุบันระบบดังกล่าว อยู่ในระหว่างการพัฒนาระบบเพื่อนำไปใช้จริง ซึ่งจะช่วยให้ลดการเกิดความเสียหายทั้งทางด้านชีวิตและทรัพย์สิน ลดระดับการเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงให้เล็กลง และเกิดการต่อยอดทางธุรกิจที่มาจากงานวิจัยต่อไป

ShareTweetShare
Previous Post

มทร.ธัญบุรี คิดค้นนวัตกรรม เครื่องแยกเส้นใยผักตบชวา

Next Post

นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

7 months ago
196
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

11 months ago
68
i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

11 months ago
50
Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร

12 months ago
34
Load More
Next Post
นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

นิสิตจุฬาฯ วิจัยแปรเซลลูโลสจากเยื้อยูคาลิปตัสเป็นวัสดุทดแทนพลาสติก ลดมลพิษสิ่งแวดล้อม

Traffy Fondue นวัตกรรม Smart City จบปัญหาเมืองในแพลตฟอร์มเดียว

Traffy Fondue นวัตกรรม Smart City จบปัญหาเมืองในแพลตฟอร์มเดียว

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    100 shares
    Share 40 Tweet 25
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    82 shares
    Share 33 Tweet 21
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    79 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    73 shares
    Share 29 Tweet 18
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    72 shares
    Share 29 Tweet 18

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
196

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
80

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
40

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
54

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
48
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.