mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นร.สาธิตจุฬาฯ สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอีกครั้ง คว้ารางวัลจากงานสัปดาห์นวัตกรรมแห่งแอฟริกา

นร.สาธิตจุฬาฯ สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอีกครั้ง คว้ารางวัลจากงานสัปดาห์นวัตกรรมแห่งแอฟริกา

0

            นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอีกครั้ง คว้า 1 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน จากการประกวดนวัตกรรมงานสัปดาห์นวัตกรรมแห่งแอฟริกา (Innovation Week Africa 2020) ที่ประเทศโมรอคโค พิธีมอบรางวัลจัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 กันยายนที่ผ่านมา ณ กระทรวงการต่างประเทศ

             สองผลงานนวัตกรรมที่ได้รับรางวัลจากการประกวดครั้งนี้เป็นผลงานของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ ชั้นปีที่ 5 ประกอบด้วย “FunPlosion”- Smart Bathroom in the New Normal ! ได้รางวัลเหรียญทอง Youth Grand Prize , Youth Best Invention in the entire competition และ Master of Innovation และนวัตกรรม “Smart School Bag” ซึ่งได้รับรางวัลเหรียญเงิน และ Master of Innovation

              ด.ช.ภูริชา หนองหารพิทักษ์ ด.ช.ญาณวัฒน์ กฤษดาธานนท์ ด.ช.กวีวัธน์ ศานติวรพงษ์ ด.ญ.ปราณรัก บ่ายคล้อย ด.ญ.ภารวี หนองหารพิทักษ์ ซึ่งสร้างสรรค์นวัตกรรม“FunPlosion”- Smart Bathroom in the New Normal ! เปิดเผยว่ารู้สึกดีใจมากที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้ นวัตกรรมนี้เป็นผลงานของทุกคนที่ทำงานร่วมกันตั้งแต่เรียนอยู่ชั้น ป.3 ที่มาของ FunPlosion เกิดจากเด็ก ๆ มักไม่อยากอาบน้ำตอนเช้า นวัตกรรมนี้จะช่วยปรับอุณหภูมิของน้ำ ทำให้น้ำไม่อุ่นหรือร้อนเกินไป ช่วยให้การอาบน้ำมีความสนุกและสบาย ผ่อนคลายความเครียด สมองปลอดโปร่ง ช่วยให้คลายเครียดจากการเรียน และยังช่วยให้นอนหลับสบาย อีกด้วย การสร้างสรรค์นวัตกรรมดังกล่าว นักเรียนใช้เวลากว่า 2 ปี ซึ่งประกอบด้วยแอปพลิเคชั่น และตัวเครื่อง ทุกคนช่วยกันคิดฟังก์ชั่น โดยมีการปรับเปลี่ยนพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

              ด.ช.ธารธรรม เรืองวุฒิสกุลชัย ด.ญ.นภัสนันท์ สุเมธพิมลชัย ด.ญ.ทิตชญา มั่นคง เจ้าของผลงานนวัตกรรม “Smart School Bag” ซึ่งคว้าเหรียญเงินมาครอง ทั้งสามคนเป็นนักกีฬาว่ายน้ำที่มารวมตัวกันสร้างนวัตกรรมที่มีที่มาจากเรื่องใกล้ตัวคือนักเรียนมักจะลืมว่าวางกระเป๋านักเรียนไว้ที่ไหน หลายครั้งก็หยิบกระเป๋านักเรียนผิด นวัตกรรมนี้จะมีแอปพลิเคชั่นที่ช่วยค้นหากระเป๋านักเรียนที่หาย ทำงานด้วยระบบเซนเซอร์ที่เตือนว่ากระเป๋าอยู่ที่ไหน รวมถึงมีหนังสือในกระเป๋าครบหรือไม่ นอกจากนี้ยังสามารถใช้แอปพลิเคชั่นนี้ จัดตารางสอนได้ เพียงสแกน QR Code ที่หนังสือเรียน แอปพลิเคชั่นจะบอกได้ว่าหนังสืออยู่ที่โรงเรียนหรืออยู่ที่บ้าน

              ความสำเร็จของนวัตกรตัวน้อยจากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ เกิดจากการได้รับการสนับสนุนจากโรงเรียนผ่านศูนย์นวัตกรรม โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม โดยมีอาจารย์จีรศักดิ์ จิตรโรจนรักษ์ ประธานศูนย์นวัตกรรมฯ รวมทั้งพ่อแม่ผู้ปกครองที่มีส่วนสำคัญในความสำเร็จในเวทีการประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง

ShareTweetShare
Previous Post

วช. เปิดตัวนวัตกรรมสำหรับผู้มีบุตรยาก “สีย้อมอสุจิ บี อาร์” จากสารสกัดข้าวเหนียวดำ

Next Post

“ล็อกซซิม” ชูนวัตกรรม “เครื่องฝึกจำลองแทรกเตอร์เสมือนจริง” ช่วยพัฒนาทักษะ พลิกวิกฤตปูทางสู่อาชีพเกษตรกรรม

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

4 นวัตกรรมช่วยกาชาดบรรเทาทุกข์ สร้างสุขให้ประชาชน
Innovation

4 นวัตกรรมช่วยกาชาดบรรเทาทุกข์ สร้างสุขให้ประชาชน

2 weeks ago
11
ReadMe โปรแกรมดีฝีมือคนไทย แปลงเอกสารและรูปภาพเป็นข้อความดิจิทัล
Innovation

ReadMe โปรแกรมดีฝีมือคนไทย แปลงเอกสารและรูปภาพเป็นข้อความดิจิทัล

3 weeks ago
5
มจธ. เปิด “ศูนย์ ASESS” Lab พิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์
Innovation

มจธ. เปิด “ศูนย์ ASESS” Lab พิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์

4 weeks ago
12
ม.มหิดล มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย เพิ่มความเชื่อมั่นไทยสู่ประเทศอุตสาหกรรม
Innovation

ม.มหิดล มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย เพิ่มความเชื่อมั่นไทยสู่ประเทศอุตสาหกรรม

1 month ago
16
Load More
Next Post
“ล็อกซซิม” ชูนวัตกรรม “เครื่องฝึกจำลองแทรกเตอร์เสมือนจริง” ช่วยพัฒนาทักษะ พลิกวิกฤตปูทางสู่อาชีพเกษตรกรรม

"ล็อกซซิม" ชูนวัตกรรม “เครื่องฝึกจำลองแทรกเตอร์เสมือนจริง” ช่วยพัฒนาทักษะ พลิกวิกฤตปูทางสู่อาชีพเกษตรกรรม

สวทช.-สพฐ.-สถ. พัฒนาแพลตฟอร์มด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนและอาหารกลางวันในโรงเรียนทั่วประเทศ

สวทช.-สพฐ.-สถ. พัฒนาแพลตฟอร์มด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนและอาหารกลางวันในโรงเรียนทั่วประเทศ

Discussion about this post

Popular Post

  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    31 shares
    Share 12 Tweet 8
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    28 shares
    Share 11 Tweet 7
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    23 shares
    Share 9 Tweet 6
  • Bederly : นวัตกรรมเตียงอัจฉริยะเพื่อผู้ป่วยที่นอนติดเตียง

    22 shares
    Share 9 Tweet 6
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    21 shares
    Share 8 Tweet 5

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

สกาย ไอซีที เปิดตัว “VIMARNN” แอปพลิเคชันบริหารจัดการผู้มาติดต่อภายในอาคาร

July 1, 2022
5

สธ.เพิ่ม 2 ฟังก์ชันใหม่ “หมอพร้อม” ประเมินภาวะลองโควิดและตวจสุขภาพใจ

July 1, 2022
5

วรุณา ร่วมกับ เก้าไร่ ส่งโดรนเกษตร “เจ้าเอี้ยง” ปั้นนักบินโดรน ยกระดับเกษตรไทยสู่เกษตรอัจฉริยะ

June 30, 2022
5

ระบบคลังสินค้าอัตโนมัติจากเอบีม เพิ่มความปลอดภัย ประสิทธิภาพ และเพิ่มพื้นที่จัดเก็บสินค้า

June 30, 2022
4

ม.มหิดลใช้ AI ช่วยแพทย์วินิจฉัยผู้ป่วย COVID-19 ปอดติดเชื้อ

June 30, 2022
9
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.