mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
อินเตอร์ ฟาร์มา ร่วมกับ มอ. วิจัย “สารสกัดจากกระท่อม” สู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

อินเตอร์ ฟาร์มา ร่วมกับ มอ. วิจัย “สารสกัดจากกระท่อม” สู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

0

            อินเตอร์ ฟาร์มา และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) เตรียมเดินหน้าพัฒนาต่อยอดงานวิจัยและพัฒนากระท่อม และ สารสกัดจากกระท่อม เพื่อนำไปสู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ทั้งอาหารเสริมโภชนบำบัด ยา และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานและเป็นประโยชน์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการเกษตรการแพทย์และ อุตสาหกรรมชีววิทยาศาสตร์ สอดรับยุทธศาสตร์ชาติ ในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของความเป็นเลิศด้านการแพทย์และสุขภาพ

            ดร.ตฤณวรรธน์ ธนิตนิธิพันธ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อินเตอร์ ฟาร์มา จำกัด (มหาชน)  กล่าวว่า “อินเตอร์ ฟาร์มา เป็นผู้นำในการคิดค้นและนำเสนอผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตที่ล้ำสมัย ที่มีทั้งประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุด เพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ดีและคุ้มค่าที่สุด และที่ผ่านมา อินเตอร์ ฟาร์มา ได้เดินหน้าพัฒนางานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์มาตอบโจทย์คนไทยอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดการลงบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพราะเล็งเห็นคุณประโยชน์ของกระท่อมและสารสกัดจากกระท่อม ที่สามารถนำมาผลิตเป็นอาหารเสริม โภชนบำบัด ยา และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ด้านสุขภาวะให้กับประชาชนที่ยังเข้าถึงไม่ถึงผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ โดยทางอินเตอร์ ฟาร์มา เข้ามาร่วมมือในหลากหลายมิติ ทั้งห้องปฏิบัติการ สมทบงบประมาณในการทำงานวิจัย บุคลากร เป็นต้น ซึ่งทางอินเตอร์ ฟาร์มา เชื่อมั่นว่า หากผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากความร่วมมือในครั้งนี้ผลิตออกสู่เชิงพาณิชย์ จะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายด้านการเกษตรการแพทย์ โดยใช้เทคโนโลยีทางชีววิทยาศาสตร์ อีกทางหนึ่ง”

            ด้าน ผศ.ดร.นิวัติ แก้วประดับ อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า “ม.สงขลานครินทร์มีวิสัยทัศน์ในการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรม และสังคม เป็นกลไกหลักในการพัฒนางานวิจัยของภาคใต้ และประเทศ ครั้งนี้นับเป็นโอกาสอันดีและยินดีที่ทางบริษัทอินเตอร์ ฟาร์มา ได้ร่วมสนับสนุนงานด้านวิชาการและงานวิจัย รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ ซึ่งจะเกิดประโยชน์ได้จริงและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนมาก ภายใต้ข้อตกลงร่วมการใน MOU ฉบับนี้”

           สำหรับงบประมาณหลักในการสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมกระท่อมในครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) โดยทางอินเตอร์ ฟาร์มา และ ม.สงขลานครินทร์ มีขอบเขตงานวิจัยหลักๆ อาทิ ร่วมกันดำเนินงานวิจัยและพัฒนาด้านกระท่อมและสารสกัดจากกระท่อม รวมถึงสาขาที่เกี่ยวข้อง ในรูปแบบต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทั้งสองหน่วยงาน, ร่วมกันส่งเสริม พัฒนาความรู้และงานวิจัย ทั้งด้านอุปกรณ์เครื่องมือ วัตถุดิบ เทคโนโลยี หรือ สิ่งสนับสนุนอื่นๆ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เพื่อประโยชน์ของหน่วยงานและประเทศ เป็นต้น

           ทั้งนี้ อินเตอร์ ฟาร์มา และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เห็นพ้องร่วมกันว่า การเดินหน้างานวิจัยและพัฒนากระท่อมและสารสกัดจากกระท่อมในครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการเกษตรการแพทย์และ อุตสาหกรรมชีววิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งเกิดประโยชน์กับประชาชนที่ยังเข้าไม่ถึงกระท่อมแล้ว ยังสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ ในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของความเป็นเลิศด้านการแพทย์และสุขภาพ

ShareTweetShare
Previous Post

มจพ. สร้างนวัตกรรม “หุ่นยนต์ไอพ่นละอองฝอย(ULV)” ฆ่าเชื้อไวรัส

Next Post

“ห้องไอซียู โมดูลาร์” ช่วยแพทย์รับมือกับสถานการณ์โควิด-19

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
20
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
13
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

4 months ago
18
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

5 months ago
13
Load More
Next Post
“เอสซีจี” เร่งพัฒนา “นวัตกรรม” ช่วยชาติฝ่าวิกฤตโควิด-19

“ห้องไอซียู โมดูลาร์” ช่วยแพทย์รับมือกับสถานการณ์โควิด-19

“M-Pro Jelly Drink” เครื่องดื่มโปรตีนสูงเสริมแคลเซียมจาก “ถั่วเขียว”

“M-Pro Jelly Drink” เครื่องดื่มโปรตีนสูงเสริมแคลเซียมจาก “ถั่วเขียว”

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.