mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
วว. เปิดแล็บทดสอบสารสกัด ‘กัญชา-กัญชง’ สำหรับใช้ทางการแพทย์

วว. เปิดแล็บทดสอบสารสกัด ‘กัญชา-กัญชง’ สำหรับใช้ทางการแพทย์

0

              กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เปิดห้องปฏิบัติการให้บริการสกัด ศึกษาประสิทธิภาพความปลอดภัย ตรวจวิเคราะห์ทดสอบสารสกัดจากกัญชา/กัญชงสำหรับใช้ทางการแพทย์ ครอบคลุม 5 ชนิดตัวอย่าง ได้แก่ พืชกัญชา ตำรับยาแผนไทย น้ำมันกัญชา สารสกัด ผลิตภัณฑ์ยาจากน้ำมันกัญชา หวังสร้างความมั่นคงด้านยา เสริมแกร่งผู้ประกอบการ พัฒนาเพิ่มมูลค่าพืชเศรษฐกิจจากทรัพยากรในประเทศ

            ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวว่า จากนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์ สร้างความมั่นคงด้านยาของประเทศ และป้องกันการผูกขาดทางด้านยารวมถึงการพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจจากทรัพยากรที่มีอยู่ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของประเทศเป็นสำคัญนั้น วว. ในฐานะหน่วยงานวิจัยของประเทศในสังกัดกระทรวง อว. มีความเชี่ยวชาญในการตรวจวิเคราะห์ทดสอบสารสำคัญจากพืชสมุนไพร การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อสุขภาพจากสารสกัดสมุนไพรที่ตอบโจทย์และได้รับความเชื่อมั่นจากผู้บริโภคมาอย่างต่อเนื่อง ช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจประเทศเป็นรูปธรรม

             จากความสำคัญของนโยบายรัฐบาลดังกล่าว วว. โดย ห้องปฏิบัติการชีวเคมีและจุลชีววิทยาและห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ ศูนย์ทดสอบและมาตรวิทยา ซึ่งดำเนินงานภายใต้ระบบ ISO 17025 เปิดให้บริการวิเคราะห์ทดสอบกัญชา ผลิตภัณฑ์กัญชา ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีกัญชา/กัญชงและสารสกัดแคนนาบินอยด์ (Cannabidiol ; CBD) เป็นส่วนประกอบในอาหาร โดยมีรายการทดสอบดังนี้ ปริมาณสารสำคัญ การตรวจเอกลักษณ์ สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง โลหะหนัก สารพิษจากเชื้อรา การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ตัวทำละลายตกค้าง นอกจากนั้น ยังให้บริการวิเคราะห์ทดสอบองค์ประกอบและชนิดของกรดไขมัน โอเมก้า 3 และ 6 ในน้ำมันจากเมล็ดกัญชง โดยขอบข่ายในการให้บริการของ วว. ดำเนินการภายใต้ข้อกำหนดกฎหมายของประกาศกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งตอบสนองนโยบายรัฐบาลและเป็นการสนับสนุนผู้ประกอบการให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์กัญชาให้ได้มาตรฐานทั้งด้านคุณภาพและความปลอดภัย

              ผู้ว่าการ วว. กล่าวต่อว่า นอกจากงานบริการดังกล่าวแล้ว วว. โดย ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้พัฒนาห้องปฏิบัติการตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และได้รับอนุญาตจาก อย. ให้ดำเนินงานวิจัยเกี่ยวกับกัญชาได้ โดยใช้เครื่องสกัดที่ทันสมัย ได้แก่ เครื่องสกัดชนิด Phytonics ที่ใช้ตัวทำละลายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยขณะนี้เปิดให้บริการวิจัยในการสกัดและศึกษาประสิทธิภาพความปลอดภัยกัญชาที่ไม่ใช่ยาเสพติด เช่น ส่วนใบ ลำต้น ราก จากแหล่งปลูกที่ได้รับอนุญาต และพัฒนาผลิตภัณฑ์เช่นเดียวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรทั่วไป ส่วนดอกกัญชาที่เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 นั้น วว. อยู่ระหว่างดำเนินการวิจัยด้านการสกัดและตรวจสอบสารสำคัญ ได้แก่ THC, CBD และสารกลุ่มแคนนาบินอยด์อื่นๆ

ShareTweetShare
Previous Post

วว. พัฒนา “วัสดุดูดซับจากยางพารานาโนเทคโนโลยี” สำหรับขจัดน้ำมันปนเปื้อน

Next Post

ผลิตภัณฑ์ “SYNBIO TOTAL RICE” ฝีมือคนไทย ลดเสี่ยงติดโควิด

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
22
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
13
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

5 months ago
18
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

6 months ago
13
Load More
Next Post
ผลิตภัณฑ์ “SYNBIO TOTAL RICE” ฝีมือคนไทย ลดเสี่ยงติดโควิด

ผลิตภัณฑ์ "SYNBIO TOTAL RICE" ฝีมือคนไทย ลดเสี่ยงติดโควิด

“N Health” พัฒนาระบบแจ้งเตือนอุณหภูมิตู้เก็บวัคซีนแบบเรียลไทม์

"N Health" พัฒนาระบบแจ้งเตือนอุณหภูมิตู้เก็บวัคซีนแบบเรียลไทม์

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.