mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“N Health” พัฒนาระบบแจ้งเตือนอุณหภูมิตู้เก็บวัคซีนแบบเรียลไทม์

“N Health” พัฒนาระบบแจ้งเตือนอุณหภูมิตู้เก็บวัคซีนแบบเรียลไทม์

0

             สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้โรงพยาบาลหรือหน่วยงานต่างๆ เตรียมสั่งซื้อวัคซีนโควิด-19 มาเพื่อฉีดให้กับประชาชน ส่งผลให้ ‘ตู้แช่ยาและวัคซีน’ กลายเป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นเพื่อเก็บรักษายาและวัคซีน  โดยวัคซีนแต่ละชนิดล้วนมีการเก็บรักษาอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ซึ่งหากเกิดความคลาดเคลื่อนของอุณหภูมิตู้แช่ยาและวัคซีน อาจส่งผลให้ยาหรือวัคซีนมีประสิทธิภาพลดลง “N Health” จึงเดินหน้าพัฒนาระบบแจ้งเตือนอุณหภูมิตู้เก็บวัคซีน เช็กข้อมูลเรียลไทม์บนโมบายแอปฯ รับกระแสวัคซีนโควิด-19

             นายเอกรักษ์ อำไพภักดิ์ ผู้ช่วยผู้จัดการด้านบริการเทคโนโลยีการทดสอบ บริษัท เนชั่นแนล เฮลท์แคร์ ซิสเท็มส์ จำกัด (N Health) เปิดเผยว่า ทีมวิศวกรทางการแทพย์จาก N Health ผู้ให้บริการด้านการสนับสนุนบริการทางการแพทย์และธุรกิจโรงพยาบาล ได้พัฒนาระบบการแจ้งเตือนระดับอุณหภูมิภายในตู้แช่ยาหรือวัคซีน ผ่านเว็บเบราว์เซอร์หรือแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ ทั้งระบบ IOS ระบบ Android ภายใต้ชื่อ “Smart Application on Temperature Alert” สำหรับตู้เย็นเก็บยาและวัคซีน เพื่อความปลอดภัยและควบคุมอุณหภูมิที่ได้ตามมาตรฐาน  ทำให้หน่วยงานต่างๆ เกิดความมั่นใจในการเก็บรักษายาและวัคซีน ที่ผ่านการควบคุมอุณหภูมิที่ได้มาตรฐานก่อนจะนำไปใช้กับผู้ป่วย โดยสามารถควบคุม ตรวจสอบและดูข้อมูลได้ตลอดเวลาผ่านทางระบบมือถือและอินเทอร์เน็ต

              ทั้งนี้ การพัฒนา Smart Application on Temperature  Alert เกิดขึ้นจากปัญหากระแสไฟฟ้าที่จ่ายเข้าสู่ตู้แช่ยาดับทั้งระบบ และไม่มีระบบสำรองไฟฟ้า ทำให้เมื่อไฟฟ้าดับหรือกระแสไฟฟ้าตก การทำงานของตู้แช่จะหยุดทันที และระบบต่างๆหยุดทำงานแด้วย จึงไม่มีการแจ้งเตือนของระบบไปยังผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดความเสียหาย  ต่อประสิทธิภาพของยาและวัคซีน และมีมูลค่าความเสียหายเป็นจำนวนมาก

               รูปแบบการทำงานของระบบ จะติดตั้งเซ็นเซอร์วัดระดับอุณหภูมิไว้ เมื่ออุณหภูมิตู้เแช่ยาหรือวัคซีน มีค่าผิดปกติไปจากค่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ระหว่าง 2 ถึง 8 องศาเซลเซียส ระบบจะทำการส่งข้อมูลการแจ้งเตือนไปยังเว็บเบราว์เซอร์และแอปพลิเคชันบนมือถือของผู้ดูแลระบบ ภายในเวลา 1 นาที โดยระบบสามารถแจ้งเตือนความผิดปกติของตู้แช่ยาหรือวัคซีนแยกตามพื้นที่ได้

            สำหรับ Smart Application on Temperature  Alert จะช่วยให้หน่วยงานที่ทำหน้าที่หลักในการเก็บรักษายาหรือวัคซีน คือ แผนกเภสัชกรรม และคลังยา สามารถควบคุมมาตรฐานความแม่นยำการรักษาอุณหภูมิของการจัดเก็บยาและวัคซีนให้คงประสิทธิภาพสูงสุดและเชื่อมั่นว่าหากเกิดปัญหาอย่าง ตู้แช่เสีย เกิดมีอุบัติเหตุไฟดับหรือไฟตกต่างๆ จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที เพราะหากอุณหภูมิภายในตู้แช่ยาและวัคซีนมีความคลาดเคลื่อน จะส่งผลให้ประสิทธิภาพของวัคซีนลดลง เปอร์เซ็นต์ในการที่ฉีดไปแล้วประสบความสำเร็จก็จะน้อยลง การเก็บรักษาวัคซีนให้ได้คุณภาพที่ดีที่สุด จะทำให้มีประสิทธิภาพดีที่สุดเมื่อนำไปฉีดให้ผู้ป่วยหรือประชาชน

           หน่วยงานวิศวกรรมทางการแพทย์จาก N Health ให้บริการดูแลบำรุงรักษาอุปกรณ์ทางการแพทย์และบริการบริหารจัดการอุปกรณ์อย่างเป็นระบบ ทั้งโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน รวมถึงห้องปฏิบัติการและสถานพยาบาลต่างๆ ช่วยให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ 02-762-4099  หรือ Email : nhcsbiomedical@nhealth-asia.com

ShareTweetShare
Previous Post

ผลิตภัณฑ์ “SYNBIO TOTAL RICE” ฝีมือคนไทย ลดเสี่ยงติดโควิด

Next Post

นาโนเทค – มหิดล ทดสอบ “ออร์แกนิคซิงค์ไอออน” ฆ่าเชื้อโรค เตรียมส่งมอบ รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
81
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
นาโนเทค – มหิดล ทดสอบ “ออร์แกนิคซิงค์ไอออน” ฆ่าเชื้อโรค เตรียมส่งมอบ รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน

นาโนเทค – มหิดล ทดสอบ “ออร์แกนิคซิงค์ไอออน” ฆ่าเชื้อโรค เตรียมส่งมอบ รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน

วช. สนับสนุน มมส. ปั้นนวัตกรรม”เครื่องเร่งกระบวนการแช่และเพาะงอกข้าวเปลือก”

วช. สนับสนุน มมส. ปั้นนวัตกรรม"เครื่องเร่งกระบวนการแช่และเพาะงอกข้าวเปลือก"

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.