mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
จิสด้าคอนเฟิร์ม ดาวเทียม THEOS-2 สร้างโดยคนไทยใกล้เสร็จ พร้อมส่งขึ้นอวกาศกลางปี 65

จิสด้าคอนเฟิร์ม ดาวเทียม THEOS-2 สร้างโดยคนไทยใกล้เสร็จ พร้อมส่งขึ้นอวกาศกลางปี 65

0

             “จิสด้า” เผย ดาวเทียมธีออส-2 สำเร็จกว่า 65% ตามแผนงานที่วางไว้ คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ปลายปีนี้!  ไทยจะสามารถใช้ประโยชน์ได้ในไม่ช้า หากทดสอบเสร็จสิ้น จะถูกส่งขึ้นสู่อวกาศในช่วงกลางปี 65 อย่างแน่นอน และดาวเทียมดังกล่าวจะมีอายุการใช้งานอย่างน้อย 3 ปี 

           ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ GISTDA กล่าวว่า การดำเนินโครงการ THEOS-2 มีความคืบหน้าไปมาก ตอนนี้สำเร็จไปกว่า 65% ของแผนงานที่วางไว้แล้ว ประเทศไทยจะสามารถใช้ประโยชน์ได้ในไม่ช้านี้  โดยการดำเนินงานของระบบ THEOS-2 นั้นแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ การพัฒนา Application ภูมิสารสนเทศจากภาพถ่ายดาวเทียม และการสร้างดาวเทียม ซึ่งประกอบด้วยดาวเทียมหลัก 1 ดวง และดาวเทียมเล็ก 1 ดวง โดยดาวเทียมหลักขณะนี้อยู่ระหว่างการประกอบและทดสอบดาวเทียมให้เรียบร้อย และในเดือนมิถุนายนนี้จะมีการตรวจสอบความพร้อมของดาวเทียมเพื่อการนำส่ง สำหรับดาวเทียมเล็กนั้น ขณะนี้อยู่ในขั้นของการตรวจสอบระบบก่อนนำไปทดสอบด้านสภาวะแวดล้อมในการทำงานจริง (Environment Test) ในช่วงกลางปีนี้ ซึ่งเมื่อทดสอบเสร็จสิ้นแล้ว ดาวเทียมเล็กจะถูกส่งมาทดสอบเพิ่มเติมที่อาคารประกอบทดสอบดาวเทียม หรือ อาคาร AIT ที่ประเทศไทย

             ปกรณ์ฯ ขยายความว่า ดาวเทียมเล็กเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกที่มีมาตรฐานในระดับ industrial grade ที่สร้างโดยทีมวิศวกรดาวเทียมของไทยกว่า 20 คน ซึ่งได้ร่วมออกแบบกับทางบริษัท Surrey Satellite Technology Ltd. สหราชอาณาจักร และสร้างตัวดาวเทียมที่มีขนาดประมาณ 100-110 กิโลกรัม สิ่งสำคัญที่ทีมวิศวกรดาวเทียมของไทยได้รับในครั้งนี้ก็คือ เทคโนโลยีและองค์ความรู้ทางด้านอวกาศจากองค์กรต่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญ ความชำนาญ และมีชื่อเสียงระดับโลก

            “เราได้ใช้ทุกๆโอกาสจากที่ได้ไปอยู่ ไปฝึก ไปเรียนรู้เพื่อนำกลับมาถ่ายทอดในประเทศ ซึ่งเป็นการ training for the trainer ในเรื่องเทคโนโลยีอวกาศ เพื่อเสริมสร้างกำลังคนไว้รองรับการพัฒนาด้านอวกาศ ทำให้ประเทศไทยสามารถต่อยอดและพัฒนาโครงการต่างๆ ด้านอวกาศได้เอง”

             โดยใช้บุคลากรไทยและองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้นเองโดยคนไทย นอกจากภารกิจของดาวเทียมเล็กในด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีอวกาศข้างต้นแล้ว ดาวเทียมเล็กดวงนี้ยังทำหน้าที่เสริมการบันทึกภาพบนพื้นผิวโลกให้กับดาวเทียมดวงต่างๆ ที่ GISTDA ให้บริการ เป็นการเพิ่มฐานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมที่จะเป็นประโยชน์ต่อการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ ดาวเทียมดังกล่าวจะถูกส่งขึ้นสู่อวกาศภายในปี 2565 และจะมีอายุการใช้งานอย่างน้อย 3 ปี

              ด้านนายพรเทพ นวกิจกนก ผู้อำนวยการสำนักโครงการ THEOS-2  กล่าวเสริมเกี่ยวกับดาวเทียมเล็กว่า “ขั้นตอนต่อจากนี้ จะเข้าสู่กระบวนการทดสอบระบบดาวเทียมเล็กที่สหราชอาณาจักร ก่อนจะนำดาวเทียมเล็กมาทดสอบเพิ่มเติมที่อาคารประกอบและทดสอบดาวเทียม หรือ อาคาร AIT ภายในอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เพื่อเตรียมความพร้อมของระบบดาวเทียมเล็กก่อนนำส่งขึ้นสู่อวกาศ ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 14 เดือน และหากทุกอย่างเป็นไปตามแผนดาวเทียมดังกล่าวจะถูกส่งขึ้นสู่อวกาศในช่วงกลางปี 65 อย่างแน่นอน”

 

ShareTweetShare
Previous Post

นาโนเทคร่วมมือหอการค้า จ.ะยอง ดัน ‘นวัตกรรมฟื้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยว’ สร้างความเชื่อมั่นยุคโควิด-19

Next Post

‘ลูกบ้าน’ แอพฯ แก้ปัญหาคนไข้โควิดล้นโรงพยาบาล

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

4 months ago
18
เทศบาลนครปฐมนำร่อง “ระบบรับฟังเสียงประชาชน AI” ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ “Smart City”
Innovation

เทศบาลนครปฐมนำร่อง “ระบบรับฟังเสียงประชาชน AI” ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ “Smart City”

6 months ago
16
แอปพลิเคชัน POLICE PLUS ใช้เทคโนโลยีสู่การแพทย์วิถีใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ
Innovation

แอปพลิเคชัน POLICE PLUS ใช้เทคโนโลยีสู่การแพทย์วิถีใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ

7 months ago
8
7 เทคโนโลยี คว้าใจผู้ประกอบการรับต่อยอดเชิงพาณิชย์
Innovation

7 เทคโนโลยี คว้าใจผู้ประกอบการรับต่อยอดเชิงพาณิชย์

7 months ago
17
Load More
Next Post
‘ลูกบ้าน’ แอพฯ แก้ปัญหาคนไข้โควิดล้นโรงพยาบาล

'ลูกบ้าน' แอพฯ แก้ปัญหาคนไข้โควิดล้นโรงพยาบาล

มหิดล คิดค้นนวัตกรรม “โรงเรียนฉลาดเล่น” เพื่ออนาคตเด็กไทย

มหิดล คิดค้นนวัตกรรม "โรงเรียนฉลาดเล่น" เพื่ออนาคตเด็กไทย

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.