mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
อว. ใช้ AI ตรวจสอบการสวมหน้ากากอนามัยของ “คนกรุง”

อว. ใช้ AI ตรวจสอบการสวมหน้ากากอนามัยของ “คนกรุง”

0

           อว.ใช้เอไอตรวจสอบพบ 98.14% ของคนกรุงเทพฯ ใส่หน้ากากอนามัย เผยเขตยานนาวา มี ปชช.ใส่หน้ากากอนามัยไม่ถูกต้องสูงสุด ทั้งยังพบว่าวันเสาร์ – อาทิตย์ มีอัตราส่วนการใส่หน้ากากอนามัยน้อยกว่าช่วงวันทำงาน 

             ศ.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยว่า ตามที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 เพิ่มมากขึ้นอย่างมาก อว.ได้ใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) แบบเรียลไทม์ ติดตามประเมินการใส่หน้ากากอนามัยอย่างต่อเนื่องพบว่า ในช่วงนี้อัตราการใส่หน้ากากอนามัยได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน โดยมีผู้ใส่หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง สูงถึง 98.14% เทียบกับช่วงที่ผ่านมาซึ่งเคยลดลงต่ำสุดถึง 91.62% ในช่วงเดือน มี.ค. 64 ทั้งนี้ การระมัดระวังตัวโดยใส่หน้ากากอนามัยได้เพิ่มมากขึ้นมาตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของเดือน มี.ค. หลังมีข่าวเหตุการณ์ระบาดเป็นระยะ เริ่มจากคลัสเตอร์ตลาดบางแค คลัสเตอร์สถานบันเทิง และต่อมาเกิดการระบาดในวงกว้าง ซึ่งทำให้มีคนที่ไม่ใส่หน้ากากอนามัยหรือใส่ไม่ถูกต้องที่เคยสูงถึง 8.38% ลดลงเหลือเพียง 1.86% หรือเท่ากับลดลงกว่า 4.5 เท่า

              ด้าน ศ.ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในทีมวิจัยกล่าวว่า การใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ เอไอมาสต์ ปัจจุบันมีการเฝ้าระวังการใส่หน้ากากอนามัยใน 30 เขตทั่วกรุงเทพฯ จากข้อมูลล่าสุดในวันที่ 22 เม.ย. 64 พบว่า เขตยานนาวา มีประชาชนผู้สัญจรใส่หน้ากากถูกต้องเพียง 84% หรือมีผู้ไม่ใส่หน้ากากหรือใส่ไม่ถูกต้อง สูงถึง 1 ใน 6 คน ส่วนเขตคลองสานมีอัตราการใส่หน้ากากไม่ถูกต้องหรือไม่ใส่หน้ากากอนามัย 1 ใน 15 คน ส่วนเขตอื่นๆ มีอัตราการใส่หน้ากากถูกต้องสูงกว่า 95% ทั้งสิ้น เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบเอไอโดยละเอียดแล้ว พบว่าประชาชนมีความระมัดระวังมากขึ้น อย่างไรก็ตามช่วงวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ ก็ยังมีอัตราส่วนการใส่หน้ากากอนามัยน้อยกว่าช่วงวันทำงาน รวมทั้งในบางบริเวณของ กทม.ยังมีผู้ใส่หน้ากากอนามัยไม่มากนัก ซึ่งจะต้องเข้าไปกำกับดูแลรายละเอียดในแต่ละพื้นที่อย่างเข้มงวดมากขึ้นเป็นกรณีด้วย

           “แม้ในช่วงนี้การใส่หน้ากากอนามัยดีขึ้นมาก แต่ขอความร่วมมือทุกคนระมัดระวังตัวอย่างสูงสุด โดยขอให้อัตราการใส่หน้ากากอนามัยสูงเป็น 100% ในทุกพื้นที่” ปลัด อว.กล่าว

           สำหรับโครงการระบบปัญญาประดิษฐ์ (ระบบเอไอ AiMASK) ในการประเมินการใส่หน้ากากอนามัย พัฒนา โดยคณะผู้วิจัยสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย และโครงการซูเปอร์เอไอเอ็นจิเนียร์ สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ShareTweetShare
Previous Post

อินเตอร์ลิ้งค์ฯ พาทดสอบรถไฟฟ้าไร้คนขับ ในสนามบินสุวรรณภูมิ พร้อมเปิดบริการปลายปี 2565

Next Post

บรรจุภัณฑ์ ชะลอความสุกของทุเรียน จาก 5 วัน เป็น 45 วัน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
22
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
14
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

5 months ago
19
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

6 months ago
13
Load More
Next Post
บรรจุภัณฑ์ ชะลอความสุกของทุเรียน จาก 5 วัน เป็น 45 วัน

บรรจุภัณฑ์ ชะลอความสุกของทุเรียน จาก 5 วัน เป็น 45 วัน

มหิดล ปั้น “นวัตกรอาหารโลก” หนุนโครงการ “SPACE-F”

มหิดล ปั้น “นวัตกรอาหารโลก” หนุนโครงการ “SPACE-F”

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.