mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สุดล้ำ! ระบบ AI ตรวจโควิด–19 ด้วยเสียงไอ

สุดล้ำ! ระบบ AI ตรวจโควิด–19 ด้วยเสียงไอ

0

          เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เข้ามามีบทบาทต่อการวินิจฉัยโรคต่างๆ ในวงการการแพทย์มากขึ้น ล่าสุดในช่วงการระบาดใหญ่ของโควิด-19 ทีมนักวิจัยในสหรัฐฯ พัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ ในการตรวจจับโควิดผ่านการไอ
ที่สำคัญ ระบบตรวจจับโควิดด้วยเสียงไอนี้ มีความแม่นยำสูงในการตรวจพบโควิด-19 ในผู้ติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการอย่างชัดเจนเกี่ยวกับโรคระบาดนี้ และอาจเป็นหนทางสำคัญในการต่อสู้กับการระบาดใหญ่ของโควิด-19 ที่มีผู้ติดเชื้อเกือบ 50 ล้านคน และเสียชีวิตกว่า 1 ล้านคนทั่วโลกในขณะนี้ได้

ทีมวิจัยแห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ หรือ MIT เปิดเผยรายงานการทดสอบระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ในการตรวจสอบเสียงไอของผู้คน ที่บันทึกเสียงเค้นไอผ่านคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับอาการป่วยต่างๆ ของบุคคลเหล่านั้นไว้ ซึ่งมีข้อมูลทั้งคนที่ไอแบบธรรมดา ไอเพราะป่วย และไอจากการติดเชื้อโควิด-19
ทีมวิจัยจาก MIT ได้รับเสียงบันทึกเสียงการไอมากว่า 70,000 รายการ ซึ่งรวมกันแล้วมีเสียงไอของผู้คนราว 200,000 ตัวอย่าง เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้ระบบ AI ประมวลผลเสียงการไอ รวมถึงเสียงพูดปกติของบุคคลเข้าไปด้วย
ทีมพัฒนาระบบวิเคราะห์ “โควิดจากเสียงไอ” พบว่า ระบบ AI ดังกล่าวสามารถวิเคราะห์ได้ถูกต้องถึง 98.5% ว่าเสียงไอดังกล่าวมาจากผู้ที่ยืนยันว่าติดโควิด-19 และในระบบเดียวกันนี้ สามารถตรวจจับโควิด-19 ผ่านเสียงไอของผู้ที่ติดโควิด-19 แบบไม่แสดงอาการ ได้แม่นยำ 100%

           ไบรอัน ซูบิรานา (Brian Subirana) นักวิทยาศาสตร์จาก Auto-ID Laboratory ของ MIT หัวหน้าการวิจัยนี้ เปิดเผยว่า ทีมงานได้พัฒนาโมเดล AI เพื่อวิเคราะห์เสียงเค้นไอ ในการค้นหาสัญญาณของโรคอัลไซเมอร์มาแล้ว เพราะสัญญาณดังกล่าว รวมถึง การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมและการสูญเสียความทรงจำ ขณะที่โรคอัลไซเมอร์ ทำให้เกิดปัญหาด้านระบบสมองและกล้ามเนื้อด้วยเช่นกัน ซึ่งรวมถึงความสามารถในการพูดที่ลดน้อยถอยลง และพบว่าการตรวจหาโรคอัลไซเมอร์ผ่านการไอ เป็นความก้าวหน้าอย่างหนึ่งในการตรวจหาสัญญาณของโรคนี้
หลังการระบาดใหญ่ของโคโรนาไวรัสดำเนินไปทั่วโลก นายซูบิรานา จึงมองว่าโมเดลวิเคราะห์โรคผ่านเสียงไอ อาจได้ผลกับโรคโควิด-19 และในการทดสอบพบว่า รูปแบบวิเคราะห์โรคอัลไซเมอร์และโควิด-19 มีความใกล้เคียงกัน จากการเปลี่ยนแปลงของเสียงบุคคลที่ติดเชื้อโควิด-19 ซึ่งสามารถตรวจวัดได้ทันทีแม้จะไม่แสดงอาการอื่นๆ เลยก็ตาม

         ทีมวิจัยตั้งเป้าที่จะพัฒนา แอปพลิเคชัน ตรวจวัดโควิด-19 ที่ใช้งานได้ง่ายขึ้น เพียงแค่โหลดแอปฯ และบันทึกเสียงการไอของผู้ใช้ในโทรศัพท์ และส่งกลับไป เพื่อวิเคราะห์ผลเบื้องต้นหากต้องสงสัยว่าติดเชื้อโควิด-19 ก่อนจะไปเข้ารับการตรวจหาเชื้อในภายหลัง

ศึกษาความรู้เพิ่มเติม

AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์ คืออะไร

ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คืออะไร

ที่มา : voathai

ShareTweetShare
Previous Post

Apple ครั้งแรกกับ ชิป M1 บน PC

Next Post

4G นอกโลก! โนเกียเตรียมพร้อมติดตั้งเครือข่ายมือถือบนดวงจันทร์

Darunrat Kaewdang

Darunrat Kaewdang

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
22
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
13
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

5 months ago
18
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

6 months ago
13
Load More
Next Post
4G นอกโลก! โนเกียเตรียมพร้อมติดตั้งเครือข่ายมือถือบนดวงจันทร์

4G นอกโลก! โนเกียเตรียมพร้อมติดตั้งเครือข่ายมือถือบนดวงจันทร์

สุดเจ๋ง! เรือขับไร้คนขับ

สุดเจ๋ง! เรือขับไร้คนขับ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.