mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สุดเจ๋ง! เรือขับไร้คนขับ

สุดเจ๋ง! เรือขับไร้คนขับ

0

การแข่งขันด้านการพัฒนาและทดสอบเทคโนโลยีรถขับเคลื่อนอัตโนมัติ มีความคืบหน้าไปมากมายในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แต่ทีมวิศวกรกลุ่มหนึ่งกำลังผลักดันเทคโนโลยีพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติอีกอย่างด้วยเช่นกัน นั่นคือ เรือขับเคลื่อนอัตโนมัติ เพื่อการขนส่งสินค้าและพาหนะขนส่งผู้คนในอนาคต
        ระหว่างที่เทคโนโลยีขับเคลื่อนอัตโนมัติสำหรับพาหนะทางบกและทางอากาศ กำลังรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว ระบบขนส่งทางน้ำแบบขับเคลื่อนอัตโนมัติก็ได้รับความสนใจและพัฒนาไปไม่น้อยหน้าเช่นกัน

ล่าสุด ทีมวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ CSAIL จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ หรือ MIT ร่วมกับหน่วยงาน Senseable City Lab ของทางมหาวิทยาลัย ผลักดันโครงการพัฒนาเรือขับเคลื่อนอัตโนมัติ ภายใต้ชื่อ roboat ส่วนผสมของคำว่า robot กับ boat
โครงการ roboat เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2016 มีเป้าหมายในการสร้างกลุ่มเรือที่สามารถขนส่งสินค้าและผู้คนไปตามแม่น้ำอัมสเตล ในกรุงอัมสเตอร์ดัมของเนเธอร์แลนด์ ดินแดนที่เป็นเกาะล้อมรอบด้วยแม่นํ้าคูคลองเป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญในพื้นที่ และทีมงานโครงการ roboat เลือกพิกัดนี้ เพื่อทดสอบว่าเรือขับเคลื่อนอัตโนมัติ จะช่วยทำให้คุณภาพชีวิตของผู้คนในกรุงอัมสเตอร์ดัมและเมืองใหญ่อื่นๆ ดีขึ้นได้
        ทีมวิศวกรพุ่งเป้าไปที่ความพยายามในการออกแบบเรือขับเคลื่อนอัตโนมัติ เพื่อขนส่งสินค้าขนาดเล็กในระยะแรก ก่อนที่จะเริ่มออกแบบ Roboat II เพื่อใช้ขนส่งผู้โดยสารได้

แดเนียลา รุส อาจารย์จาก MIT ผู้อำนวยการโครงการ CSAIL บอกว่า เรือขับเคลื่อนอัตโนมัติ Roboat II มีความยาว 2 เมตร กว้าง 1 เมตร และน้ำหนักราว 80 กิโลกรัม ขับเคลื่อนด้วย 4 ใบพัด พร้อมชุดกล้อง เซนเซอร์ มีระบบเรดาร์ LiDAR ซึ่งใช้ระบบแสงเลเซอร์เพื่อทำแผนที่สภาพโดยรอบและวัดระยะทาง ใช้ระบบ machine-learning หรือการเรียนรู้และประมวลผลข้อมูลด้วยตัวเองเหมือนกับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ที่มา : voathai

hiramnoriega

engadget

Share1Tweet1Share
Previous Post

4G นอกโลก! โนเกียเตรียมพร้อมติดตั้งเครือข่ายมือถือบนดวงจันทร์

Next Post

Xiaomi เปิดตัวชาร์จไร้สาย 80W แบต 4,000 mAh เต็มใน 19 นาที

Darunrat Kaewdang

Darunrat Kaewdang

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
22
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
13
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

5 months ago
18
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

6 months ago
13
Load More
Next Post
Xiaomi เปิดตัวชาร์จไร้สาย  80W  แบต 4,000 mAh เต็มใน 19 นาที

Xiaomi เปิดตัวชาร์จไร้สาย 80W แบต 4,000 mAh เต็มใน 19 นาที

ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.