mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.มหิดล เปิดเว็บไซต์  AIThaiGen สร้างนักเรียน-ครูพันธุ์ใหม่ ใส่ใจเทคโนโลยีแห่งอนาคต

ม.มหิดล เปิดเว็บไซต์ AIThaiGen สร้างนักเรียน-ครูพันธุ์ใหม่ ใส่ใจเทคโนโลยีแห่งอนาคต

0

              หากสามารถทำให้แพทย์เป็นทั้ง “ผู้สร้าง” และ “ผู้ใช้” เทคโนโลยีด้วยความเข้าใจ ประโยชน์ที่จะได้อย่างแน่นอน คือ ผู้ป่วย

              รองศาสตราจารย์ ดร.ปัณรสี ฤทธิประวัติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คือหนึ่งในความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ “ปัญญาของแผ่นดิน” ผู้มากด้วยประสบการณ์ในการทำงานวิจัย และสร้างนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการทำงานของแพทย์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย จนได้ถ่ายทอดออกมาหล่อหลอม “แพทย์นวัตกร” ให้พร้อมก้าวทันโลกที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี โดยเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดันนักศึกษาแพทย์ให้เป็นทั้ง “ผู้สร้าง” และ “ผู้ใช้” เทคโนโลยี เนื่องด้วยผู้ที่จะเข้าใจโจทย์ของการสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ดีที่สุด คือ “ผู้รักษา” และเข้าใจปัญหาของผู้ป่วยอย่างแท้จริง

              แม้จะไม่ถึงกับเป็นผู้สร้างเทคโนโลยีขึ้นเอง แต่หากสามารถทำให้ “นักศึกษาแพทย์นวัตกร” สื่อสารกับวิศวกรได้ด้วยความเข้าใจ จะเป็น ความสำเร็จที่แท้จริงของการพัฒนาหลักสูตรเพื่อนำนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยให้ได้มากที่สุด

               และจากความพยายามในการร่วมผลักดันนักศึกษาแพทย์สู่โลกแห่งนวัตกรรมเพื่อประโยชน์สำหรับผู้ป่วย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืน ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ดร.ปัณรสี ฤทธิประวัติ ได้ขยายผลสู่ “ระดับรากฐาน” โดยหวังให้เยาวชนไทยได้ “หยั่งลึก” สู่ “โลกแห่งปัญญาประดิษฐ์ (AI)” ด้วยการเปิดเว็บไซต์ AIThaiGen เพื่อสร้าง “นักเรียนและครูพันธุ์ใหม่ใส่ใจเทคโนโลยี” เสริมการเรียนรู้ภายในโรงเรียน

               เด็กๆ จะได้เรียนรู้เทคโนโลยี AI ใหม่ๆ อาทิ การสร้างโปรแกรมตรวจจับการเคลื่อนไหวของใบหน้า เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาด้านต่างๆ ตลอดจนเพื่อทำให้การใช้ชีวิตในโลกยุคปัจจุบันเป็นเรื่องง่าย ผ่านการเรียนรู้ทักษะการใช้ AI ด้วยตัวเอง

              ขอเพียงไม่หยุดที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ และใส่ใจสิ่งรอบตัว AIThaiGen พร้อมเปิดกว้างให้เด็กๆ ทุกคนได้เข้ามาเรียนรู้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายได้ที่ https://aithaigen.in.th โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปัณรสี ฤทธิประวัติ พร้อมอำนวยการ “ว่าที่นักนวัตกร” ซึ่งจะเป็นความหวังใหม่ของโลกแห่งอนาคต ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง

ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

มทร.ธัญบุรี คิดค้น “นวัตกรรมหมวกเดินป่า” เรืองแสง ตรวจจับอุณหภูมิ กันฝน กันเชื้อราและแบคทีเรีย

Next Post

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “วีลแชร์ยืน” ได้ต่อยอดสู่นวัตกรรม “เครื่องยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

8 months ago
31
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

8 months ago
14
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

8 months ago
21
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

9 months ago
17
Load More
Next Post
นวัตกรรมฝีมือคนไทย “วีลแชร์ยืน” ได้ต่อยอดสู่นวัตกรรม “เครื่องยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย”

นวัตกรรมฝีมือคนไทย "วีลแชร์ยืน" ได้ต่อยอดสู่นวัตกรรม "เครื่องยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย"

ม.นเรศวร ต่อยอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากอินทผลัมสู่มะพร้าวน้ำหอมได้สำเร็จครั้งแรก

ม.นเรศวร ต่อยอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากอินทผลัมสู่มะพร้าวน้ำหอมได้สำเร็จครั้งแรก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    80 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
160

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
56

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
29

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
30
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.