mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ระบบซอฟต์แวร์ THE AI LOGISTICS ยกระดับโลจิสติกส์ SMEs ไทย

ระบบซอฟต์แวร์ THE AI LOGISTICS ยกระดับโลจิสติกส์ SMEs ไทย

0

             นายโสฬส ชาติงาม กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ.เอ็ม.เอส โลจิสติกส์ จำกัด ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ THE AI LOGISTICS กล่าวว่า ในช่วงตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมาจากการที่ได้ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับชิปปิ้ง จึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาสำคัญของระบบอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นบริษัทโลจิสติกส์ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ที่ไม่มีการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์โลจิสติกส์ ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอ ส่งผลให้มีกระบวนการที่ซ้ำซ้อนในการทำงาน อันเป็นสาเหตุให้เกิดความผิดพลาด เสียเวลา และค่าใช้ที่จ่ายสูงขึ้นเกินความจำเป็นการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการยกระดับขีดการแข่งขันในธุรกิจโลจิสติกส์ของประเทศไทย

              “ระบบซอฟต์แวร์โลจิสติกส์ในบ้านเราไม่ได้ออกแบบมาให้สามารถทำงานได้อย่างครบวงจรเมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์ของบริษัทข้ามชาติ หากเลือกที่จะใช้ซอฟต์แวร์ของบริษัทข้ามชาติก็จะพบว่าซอฟต์แวร์มีราคาสูงอีกทั้งการออกแบบยังไม่มีความเหมาะสมกับกฎหมาย และวัฒนธรรมของประเทศไทย หรือหากจะลงทุนพัฒนาระบบซอฟต์แวร์เป็นของตัวเองก็มีต้นทุนสูงเกินกว่าที่ SMEs จะจ่ายได้” นายโสฬส กล่าว

             ล่าสุด บริษัท เอ.เอ็ม.เอส. โลจิสติกส์ จำกัด จึงได้พัฒนาระบบซอฟต์แวร์ THE AI LOGISTICS ขึ้นมาโดยคำนึงถึงความสามารถในการจัดการระบบโลจิสติกส์แบบครบวงจร (Total Logistics Software) ที่สามารถจัดการงานโลจิสติกส์ งานบัญชี รวมถึงการจัดการให้ได้มาซึ่งสถิติสำคัญที่ต้องอาศัยแรงงานคนที่มีต้นทุนสูง เป็นเรื่องง่าย แก้ปัญหาระบบการทำงานที่ล่าช้า มีความยืดหยุ่นต่ำ ส่งผลให้ศักยภาพการแข่งขันลดลง อีกทั้งยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ลดความผิดพลาด และเวลาการทำเอกสาร อาทิ ระบบบัญชีที่สามารถรับข้อมูลจากแผนกโลจิสติกส์ เพื่อสร้างใบแจ้งหนี้และใบวางบิล โดยปราศจากการคีย์ซ้ำไปจนถึงระบบการเก็บเงินหรือระบบภาษี ที่สะดวกรวดเร็วและสอดรับกับกฎหมายของประเทศไทย

              โดยในปัจจุบัน บริษัทได้รับการคัดเลือกจาก สมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสมาคมด้านโลจิสติกส์ที่ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ที่จะร่วมมือกันสนับสนุนให้สมาชิกที่มีมากกว่า 1,500 บริษัทฯ สามารถเริ่มทดลองใช้ซอฟต์แวร์ดังกล่าวได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย

สำหรับระบบซอฟต์แวร์ THE AI LOGISTICS ประกอบด้วย 3 บริการหลัก ได้แก่

  1. โปรแกรม AI Shipment หรือ ระบบจัดการงานโลจิสติกส์ ระบบที่ครอบคลุมกระบวนการทำงานตั้งแต่รับงานจนถึงการออกงบการเงินแบบ Real time โดยไม่ต้องคีย์ซ้ำ ช่วยลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น ที่สามารถทำงานได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกอุปกรณ์

  2. โปรแกรม HS Code Check หรือ โปรแกรมจัดการงานด้านพิกัดศุลกากร ระบบที่รวมพิกัด และ คำวินิจฉัยไว้ในที่เดียว

  3. โปรแกรม Logistics Library หรือ ระบบบริหารจัดการความรู้ภายในองค์กร ระบบที่จะทำให้ความรู้ติดอยู่กับองค์กร ไม่ใช่พนักงานคนใดคนหนึ่ง

              อย่างไรก็ตามเป้าหมายหลักในการดำเนินธุรกิจของบริษัท เอ.เอ็ม.เอส. โลจิสติกส์ จำกัด นอกจากการพัฒนาซอฟต์แวร์แล้ว ยังที่จะมุ่งยกระดับโลจิสติกส์ SMEs ไทย โดยในปัจจุบัน ข้อมูลจาก DBD ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 ประเทศไทยมีบริษัทโลจิสติกส์ที่ยังดำเนินกิจการอยู่ประมาณ 4,500 บริษัท และมากกว่า 90% เป็น SMEs ซึ่งเราเชื่อว่ายังไม่มีซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับธุรกิจโลจิสติกส์  เอ.เอ็ม.เอส  โลจิสติกส์ จึงตั้งเป้าไว้ว่าจะสามารถดึงบริษัทเข้าร่วมใช้งานโปรแกรม THE AI LOGISTICS ได้มากกว่า 200 บริษัท  ภายในปี 2565

Share2Tweet2Share
Previous Post

มหิดล วิจัย “Cultured Meat” เพาะเลี้ยงเนื้อสุกรในห้องปฏิบัติการ เตรียมจับมือภาคเอกชนบุกตลาดอุตสาหกรรมอาหาร

Next Post

มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ

5 months ago
48
รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง

5 months ago
104
FleXARs นวัตกรรมฟิล์มป้องกันเพรียงเกาะผิวเรือเดินสมุทร เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

FleXARs นวัตกรรมฟิล์มป้องกันเพรียงเกาะผิวเรือเดินสมุทร เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

6 months ago
25
รถขนส่งไฟฟ้า 3 ล้อตู้บรรทุก “โอทู (O2)” ตอบโจทย์ขนส่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

รถขนส่งไฟฟ้า 3 ล้อตู้บรรทุก “โอทู (O2)” ตอบโจทย์ขนส่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

7 months ago
106
Load More
Next Post
มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI

มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI

นวัตกรรมอาหาร “เจลลี่โภชนา” เพื่อผู้ป่วยมะเร็งในช่องปาก

นวัตกรรมอาหาร "เจลลี่โภชนา" เพื่อผู้ป่วยมะเร็งในช่องปาก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.