mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.แม่โจ้ ใช้เทคโนโลยีดักจับและควบคุมคาร์บอนฯ เพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินา

ม.แม่โจ้ ใช้เทคโนโลยีดักจับและควบคุมคาร์บอนฯ เพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินา

0

             นักวิจัย ม.แม่โจ้ พัฒนา “ชุดระบบดักจับและควบคุมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์” ต่อยอดกับอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล เพื่อนำก๊าซคาร์บอนฯ มาเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินาในฟาร์มต้นแบบ ช่วยลดต้นทุนสารอาหารได้มากกว่า 30% พร้อมลดภาวะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรม 

               รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ อาจารย์ประจำสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เผยว่า โดยปกติแล้ว ในกระบวนการผลิตเอทานอล จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ปล่อยลอยขึ้นสู่ชั้นอากาศ กระทบต่อภาวะโรคร้อน และ PM 2.5 โดยไม่มีเทคโนโลยีดักจับหรือนำไปใช้ประโยชน์ นักวิจัยจึงได้พัฒนาชุดระบบดักจับและควบคุมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จนสำเร็จ เป็นที่ต้องการของบริษัท มิตรผล ผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำตาลทรายรายใหญ่ของประเทศ เพื่อนำไปต่อยอดกับกับอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล ซึ่งเป็นเครือข่ายลูกของอุตสาหกรรมน้ำตาลทราย ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) และบริษัท มิตรผล ไบโอฟูเอล จำกัด พร้อมได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรผลงานเรียบร้อยแล้ว

                การนำเทคโนโลยีดักจับและควบคุมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล มาใช้เพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินาในระบบฟาร์มสาหร่ายอัจฉริยะที่พัฒนาไว้แล้วก่อนหน้า สามารถดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีระดับความเข้มข้นและปริมาณปล่อยที่ไม่คงที่ได้ โดยปกติความเข้มข้นจะอยู่ที่ 50- 60% และสามารถโปรแกรมควบคุมความเข้มข้นและปริมาณได้ตามต้องการ เช่น ทั้งในระบบแบบจ่ายตรง (Direct) ในรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 10% 20 ลิตรต่อนาที และในระบบทางอ้อม (Indirect or Carbonator) ในรูปสารละลายเข้มข้น (Stock solution) ที่มีค่าไบคาร์บอเนตเท่ากับ 9,700 mg/L pH 8.45 เป็นต้น อีกทั้ง ความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์หากมีการลงทุนขยายการผลิตระบบฟาร์มฯโดยใช้เทคโนโลยีใหม่นี้เพิ่มเป็น 20 เท่า จะมีจุดคุ้มทุนอยู่เพียง 2.59 ปี

             ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหลือทิ้งจากโรงงานผลิตเอทานอลเสมือนเป็นการจ่ายอาหารเสริม ให้สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตสาหร่ายสไปรูลินาได้ 30% และคาดว่าจะเป็นการยกระดับกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมสาหร่ายสไปรูลินาให้มีมาตรฐานระดับสากล ทั้งกระบวนการผลิตอาหาร ระบบอาหารอินทรีย์ และระบบอาหารปลอดภัย รวมทั้งสามารถพัฒนาต่อยอดไปสู่ระบบตรวจสอบย้อนกลับได้ และสามารถลดต้นทุนการผลิตในส่วนของสารอาหารได้มากกว่า 30% จากเดิมที่มีค่ามากกว่า 60% ของกระบวนการผลิตทั้งหมด ด้านภาคอุตสาหกรรม ยังได้มีส่วนสนับสนุนในการลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย โดยจากการประเมินผลกระทบภาวะโลกร้อนของระบบฟาร์มสาหร่ายฯ ที่ใช้เทคโนโลยีดังกล่าว มีค่าประสิทธิภาพการนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ประโยชน์เท่ากับ 57% โดยมีปริมาณการนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้เท่ากับ 235.3 ลูกบาศก์เมตรต่อปี หรือ 463.5 x103 kg CO2 ต่อปี เมื่อใช้ขนาดบ่อ 18 ลูกบาศก์เมตร (พื้นที่รวม 200 ตารางเมตร)

              ทั้งนี้ ยังสามารถต่อยอดเทคโนโลยีดักจับและควบคุมคาร์บอนฯ ไปยังอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่มีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ เช่น โรงไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรมทางการเกษตร เป็นต้น เพื่อรองรับการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพบรรยากาศ

ShareTweetShare
Previous Post

ม.มหิดล คิดค้นโมเดลก้อนเนื้อมะเร็งจำลอง 3 มิติ ทดสอบยารักษามะเร็งจอประสาทตาในเด็ก

Next Post

นักวิจัย มวล. คิดค้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียในโรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

3 months ago
31
SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

3 months ago
30
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
18
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

3 months ago
42
Load More
Next Post
นักวิจัย มวล. คิดค้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียในโรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย

นักวิจัย มวล. คิดค้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียในโรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย

นวัตกรรม “เครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิก” ฝีมือคนไทย ไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ

นวัตกรรม “เครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิก” ฝีมือคนไทย ไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.