mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรม “เครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิก” ฝีมือคนไทย ไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ

นวัตกรรม “เครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิก” ฝีมือคนไทย ไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ

0

               มหาวิทยาลัยศรีปทุม แจ้งว่า ดร.เกียรติศักดิ์ สกุลพันธุ์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและนวัตกรรมอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประสบความสำเร็จงานวิจัยการพัฒนา “เครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิก” ได้รับการขึ้นทะเบียนนวัตกรรมไทย พร้อมถูกนำไปใช้จริงในการบริหารจัดการน้ำเมืองในโครงการภาครัฐ ช่วยยกระดับวงการเครื่องสูบน้ำไทย ให้สามารถสูบน้ำขนาดใหญ่ด้วยตนเองได้ โดยไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ

              ดร.เกียรติศักดิ์ สกุลพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและนวัตกรรมอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า “ตลอดระยะเวลาการศึกษาปริญญาโทและเอก ที่ผ่านมาผมมีแนวคิดว่า ไม่อยากให้วิทยานิพนธ์ทำเป็นแค่เอกสารตีพิมพ์งานทางวิชาการ แต่ควรทำอะไรให้เป็นชิ้นงาน ที่สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับวิศวกรรมในประเทศได้ งานวิจัยการพัฒนาเครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิกในครั้งนี้ เป็นอีกผลงานความสำเร็จ ซึ่งได้แรงสนับสนุนทุนจากภาคอุตสาหกรรมอย่าง บริษัท นำพล อินเตอร์เทรด จำกัด เนื่องจากทางบริษัทฯ ต้องการออกแบบเครื่องสูบน้ำ สำหรับการบริหารจัดการน้ำของเมืองในโครงการภาครัฐต่างๆ

              โดยโจทย์แรกของงาน มีการตั้งคำถามว่า ทั้งที่ประเทศไทยมีบุคลากรทางการศึกษา และภาคเอกชนที่มีความรู้ ความสามารถมากมาย แต่ก็ไม่มีใครคิดจะทำผลิตภัณฑ์ตัวนี้ออกมาจำหน่ายในนามของคนไทย จึงเป็นที่มาของงานวิจัยที่เกิดขึ้น โดยทางบริษัทฯ ได้ทำพิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับทางมหาวิทยาลัยศรีปทุม และให้ทุนสนับสนุนก้อนแรกจำนวน 4.25 ล้านบาท สำหรับจัดซื้อคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงจำนวน 4 เครื่อง รวมถึงลิขสิทธิ์โปรแกรมสำเร็จรูปทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์ของไหล (ANSYS CFX) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่งานทางด้านวิชาการทั่วโลกให้การยอมรับ เพื่อใช้ในการศึกษาวิเคราะห์รูปร่างของใบพัดเครื่องสูบน้ำให้ได้ประสิทธิภาพตามที่ต้องการ”

              “ความสำเร็จในการทำวิจัยครั้งนี้ผมโชคดีมากที่ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากท่านอธิการบดี รวมไปถึงท่านคณบดี และคณาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ทุกท่าน ที่คอยช่วยเหลือตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา จนกระทั่งงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ซึ่งผมก็ได้นำการวิจัยนี้บางส่วน มาถ่ายทอดให้นักศึกษาทำเป็นโครงงาน และเป็นหัวข้อวิจัยในงานประชุมวิชาการภายในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงการจัดซื้อโปรแกรมที่ได้ราคาพิเศษของสถาบันการศึกษา มาส่งต่อถ่ายทอดความรู้ที่มีให้นักศึกษามหาวิทยาลัยของเรา ขณะเดียวกัน ก็คาดหวังว่าจะมีนักศึกษาที่มีความฝัน ความตั้งใจ และความมุ่งมั่น จะนำความรู้จากผมไปต่อยอดสู่สายอาชีพได้ในอนาคต ดังนั้น มหาวิทยาลัยศรีปทุม ถือเป็นองค์ประกอบทั้งหมด ที่มีส่วนช่วยให้งานวิจัยนี้ประสบความสำเร็จ ทุกๆ ครั้งที่ ผมได้มีโอกาสไปประชุมนอกมหาวิทยาลัย ผมจะภาคภูมิใจอยู่เสมอว่า ผมคืออาจารย์ตัวจริง จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม” ดร.เกียรติศักดิ์กล่าว

              สำหรับนวัตกรรม “เครื่องสูบน้ำแบบเคลื่อนที่ระบบไฮดรอลิก” เป็นผลงานภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่เปิดโอกาสให้คนไทยได้สามารถผลิตเครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่ได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ในราคาที่ย่อมเยา และสามารถนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางขึ้น

Share1Tweet1Share
Previous Post

นักวิจัย มวล. คิดค้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียในโรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย

Next Post

นวัตกรรม HI PETE เต็นท์ความดันลบ สำหรับแยกผู้ป่วยแบบ Home Isolation

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

3 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
19
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
นวัตกรรม HI PETE เต็นท์ความดันลบ สำหรับแยกผู้ป่วยแบบ Home Isolation

นวัตกรรม HI PETE เต็นท์ความดันลบ สำหรับแยกผู้ป่วยแบบ Home Isolation

จุฬาฯ เปิดตัวแอปพลิเคชัน PDPlus ติดตามอาการผู้ป่วยพาร์กินสัน

จุฬาฯ เปิดตัวแอปพลิเคชัน PDPlus ติดตามอาการผู้ป่วยพาร์กินสัน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
98

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.