mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.มหิดล คิดค้นโมเดลก้อนเนื้อมะเร็งจำลอง 3 มิติ ทดสอบยารักษามะเร็งจอประสาทตาในเด็ก

ม.มหิดล คิดค้นโมเดลก้อนเนื้อมะเร็งจำลอง 3 มิติ ทดสอบยารักษามะเร็งจอประสาทตาในเด็ก

0

             เมื่อชีวิตหนึ่งลืมตาขึ้นมาดูโลกได้ไม่นาน แต่ต้องสูญเสียการมองเห็นอย่างน่าเสียดาย ไม่ใช่เพียงผู้ใหญ่ หรือผู้สูงวัยที่ต้องเผชิญกับโรคที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝันอย่างโรคมะเร็ง เด็กก็อาจเกิดมะเร็งได้ และอาจต้องสูญเสียการมองเห็น เมื่อพบมะเร็งที่จอประสาทตา

             เพื่อเอาชนะเพชรฆาตไร้เงาที่มักก่อตัวขึ้นอย่างเงียบๆ ภายในร่างกาย คอยจ้องทำร้ายทำลายชีวิตมนุษย์อย่างโรคมะเร็ง เทคโนโลยีทางการแพทย์จึงรอช้าไม่ได้ที่จะต้องเร่งพัฒนาให้ทันต่อโรค

             นับเป็นครั้งแรกของโลก ที่ได้มีการคิดค้นนวัตกรรมสร้างโมเดลก้อนเนื้อมะเร็งจำลอง 3 มิติในห้องปฏิบัติการ โดยอาจารย์นักวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยความหวังที่จะให้เด็กๆ ที่ประสบกับโรคมะเร็งจอประสาทตาได้มีโอกาสรอดชีวิต และยังคงมองเห็น หรือไม่ต้องสูญเสียดวงตาไป

             ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รสสุคนธ์ แก้วขาว อาจารย์ประจำกลุ่มสาขาวิชาเวชศาสตร์ปริวรรต คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้ารางวัลการวิจัยแห่งชาติ : ผลงานการประดิษฐ์คิดค้น รางวัลประกาศเกียรติคุณ สาขาวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จากผลงาน “นวัตกรรมการสร้างก้อนเนื้อมะเร็งจำลองของมะเร็งจอประสาทตาในเด็ก” ได้กล่าวถึงที่มาของการริเริ่มคิดค้นผลงานวิจัยดังกล่าวว่า เกิดจากข้อจำกัดในการทดสอบยากับเซลล์มะเร็งจอประสาทตาในเด็กนั้น ไม่สามารถทำได้โดยตรงกับผู้ป่วย จำเป็นต้องเก็บชิ้นเนื้อที่มีเซลล์มะเร็งมาเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อประโยชน์ในการทดสอบทางยาที่สามารถให้การรักษาได้อย่างตรงจุด

              ซึ่งการเพาะเลี้ยงเซลล์เพื่อสร้างก้อนเนื้อมะเร็งจำลองของมะเร็งจอประสาทดังกล่าว ต่างจากการเพาะเลี้ยงเซลล์โดยทั่วไปในห้องปฏิบัติการ ที่ทำในจานเพาะเลี้ยงซึ่งมีลักษณะแบน แต่จะมีการใช้เทคนิคพิเศษเพื่อการเพาะเลี้ยงให้เป็น 3 มิติ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลุมได้ยิ่งขึ้น

              ในเบื้องต้นทีมวิจัยประสบผลสำเร็จจากการเพาะเลี้ยงเซลล์มะเร็งที่ได้จากผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งจอประสาทตาของโรงพยาบาลรามาธิบดี และใช้โมเดลดังกล่าวจนสามารถค้นพบยาที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งจอประสาทตาเรียบร้อยแล้ว เตรียมส่งรายงานผลการวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติเพื่อขยายผลต่อไป

              มะเร็งจอประสาทตาในเด็กสามารถรักษาให้หายได้ และลดเสี่ยงสูญเสียดวงตา หากสามารถตรวจพบได้ในระยะแรก จึงควรหมั่นสังเกตบุตรหลาน และเมื่อมีอาการผิดปกติควรรีบพามาพบแพทย์เสียแต่เนิ่นๆ ก่อนทุกอย่างจะสายเกินแก้

              มหาวิทยาลัยมหิดล โดย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี พร้อมทุ่มเทระดมทรัพยากร ทั้งบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มากด้วยองค์ความรู้ และประสบการณ์ พร้อมด้วยอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อดูแลปวงชนชาวไทย ให้ห่างไกลจากโรคมะเร็ง และโรคหายากต่างๆ ให้ได้กลับมามีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นกำลังสำคัญให้กับประเทศชาติบ้านเมืองต่อไป

          ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรม “Breath Trainer” เครื่องฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ

Next Post

ม.แม่โจ้ ใช้เทคโนโลยีดักจับและควบคุมคาร์บอนฯ เพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินา

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
23
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

3 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
79
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
22
Load More
Next Post
ม.แม่โจ้ ใช้เทคโนโลยีดักจับและควบคุมคาร์บอนฯ เพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินา

ม.แม่โจ้ ใช้เทคโนโลยีดักจับและควบคุมคาร์บอนฯ เพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินา

นักวิจัย มวล. คิดค้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียในโรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย

นักวิจัย มวล. คิดค้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียในโรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.