mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์  นำเกษตรกรใช้ประโยชน์จาก “ปอเทือง” บำรุงดิน มุ่งสู่การเกษตรที่ยั่งยืน

สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์ นำเกษตรกรใช้ประโยชน์จาก “ปอเทือง” บำรุงดิน มุ่งสู่การเกษตรที่ยั่งยืน

0

            นายบุญเดี่ยว บุญหมั้น นักวิชาการเกษตรชำนาญการ สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์ เปิดเผยว่า ปอเทืองเป็นพืชตระกูลถั่ว เจริญเติบโตได้ดีในทุกสภาพภูมิประเทศ ทนต่อความแห้งแล้ง และเป็นพืชที่ใช้น้ำน้อย ปอเทืองสามารถสร้างธาตุอาหารขึ้นได้เองโดยเฉพาะไนโตรเจน จึงนิยมปลูกเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน ทางสถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์จึงมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกปอเทืองปรับปรุงบำรุงดิน รวมถึงการผลิตเมล็ดพันธุ์เพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ ปัจจุบันมีการส่งเสริม สาธิตและสนับสนุนการใช้ประโยชน์ปอเทืองให้กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์หลายมิติ ตั้งแต่การสนับสนุนและปลูกสาธิตให้กับเกษตรกร เพื่อใช้เป็นพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบำรุงดิน โดยในปี 2564 มีพื้นที่เป้าหมายรวม 8,000 ไร่ การถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องของการผลิตเมล็ดพันธุ์ปอเทืองให้มีผลผลิตดี คุณภาพดี และเกิดการหมุนเวียนเมล็ดพันธุ์ในชุมชน เพิ่มรายได้หลังจากการปลูกพืชหลัก ไม่ว่าจะเป็นการปลูกหลังนาหรือข้าวโพด นอกจากนี้สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์ได้มีการพัฒนากลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ปอเทือง ไปสู่การจัดตั้งธนาคารเมล็ดพันธุ์ปอเทืองอีกด้วย

             นายบุญเดี่ยว ยังอธิบายเพิ่มเติมว่า ลักษณะเด่นของปอเทืองเป็นพืชตระกูลถั่ว บริเวณปมรากถั่ว หรือที่เราเรียกว่า ไรโซเบียม (Rhizobium) จะมีจุลินทรีย์ที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาเป็นปุ๋ยไนโตเจนให้กับพืชได้ เมื่อปลูกปอเทืองอายุประมาณ 45-50 วัน แล้วไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด เราจะได้ซากพืชของปอเทืองประมาณ 2,000-3,000 กิโลกรัมต่อไร่ หรือคิดเป็นน้ำหนักแห้ง 500-840 กิโลกรัมต่อไร่ โดยจะผ่านกระบวนการย่อยสลายเป็นอินทรียวัตถุในดินต่อไป นอกจากนั้นยังได้ปุ๋ยไนโตรเจน 10-30 กิโลกรัมต่อไร่ ฟอสฟอรัส 1-2 กิโลกรัมต่อไร่ โพแทสเซียม 12-20 กิโลกรัมต่อไร่ และยังได้ธาตุอาหารรองอย่างแคลเซียม แมกนีเซียม และซัลเฟอร์เฉลี่ย 5-15 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งนี่คือประโยชน์จากการที่เราปลูกปอเทืองเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน

             ด้านนายคัมภีร์ หงส์คำ หมอดินอาสาประจำตำบลบึงกระจับ อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ กล่าวว่า เมื่อก่อนพื้นที่เกษตร สภาพดินจะแข็งกระด้างมาก ปัจจุบันดินดีขึ้น มีความร่วนซุยมากขึ้น เนื่องจากมีการปรับปรุงบำรุงดิน โดยได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ปอเทืองจากสถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์มาปลูกเป็นพืชปุ๋ยสด และแนะนำให้สมาชิกที่ทำเกษตรอินทรีย์ทำตาม ทำให้ดินของพี่น้องเกษตรกรผลผลิตดีขึ้นเรื่อยๆ และมีเกษตรกรอีกหลายรายสนใจ ขอรับการสนับสนุนเมล็ดพันธุ์อย่างต่อเนื่อง

              นายกฤษฎา สุริยะอักษร เกษตรกรสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) ตำบลบึงกระจับ อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ กล่าวว่า หลังจากปรับเปลี่ยนมาปลูกข้าวอินทรีย์ ทางสถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์ ได้เข้าสนับสนุนการใช้ปอเทืองในการปรับปรุงบำรุงดิน ทำให้ดินมีความร่วนซุยขึ้น ผลผลิตมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น พื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์ทั้งหมด 6 ไร่ เมื่อก่อนใช้สารเคมีผลผลิตข้าวจะได้ 200-300 กิโลต่อไร่ พอมาใช้ปอเทืองเป็นพืชปุ๋ยสด ผลผลิตข้าวเพิ่มเป็น 500-600 กิโลกรัมต่อไร่ ทำให้มีรายได้จากการขายข้าวอินทรีย์ 25,000-30,000 บาทต่อไร่

              นางสาวฐิติรัตน์ พรมนอก เกษตรกรสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) ตำบลพุเตย อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ กล่าวว่า มีพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด 9 ไร่ เดิมเป็นพืชเชิงเดี่ยว ได้รับคำปรึกษาจากทางกรมพัฒนาที่ดิน โดยสถานีพัฒนาที่ดินส่งเสริมการทำเกษตรแบบผสมผสานร่วมกับระบบเกษตรอินทรีย์ เน้นการลดต้นทุนการผลิตโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น การปลูกปอเทืองแล้วไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด รวมถึงการปลูกเป็นพืชคลุมดินเพื่อลดการชะล้างหน้าดินในพื้นที่

ShareTweetShare
Previous Post

วช. หนุน มทร.พระนคร “แปรเส้นใยจากใบอ้อยเป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ” พร้อมถ่ายทอดความรู้ให้ชาวไร่อ้อย

Next Post

นวัตกรรม “nSPHERE หมวกแรงดันบวก-ลบ” ลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

3 months ago
23
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
18
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

3 months ago
16
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

3 months ago
8
Load More
Next Post
นวัตกรรม  “nSPHERE หมวกแรงดันบวก-ลบ” ลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด

นวัตกรรม “nSPHERE หมวกแรงดันบวก-ลบ” ลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด

นวัตกรรมสกินแคร์จากทุเรียน  “ดูร์เรียนาร์ บาย เอสคิว” ฝีมือคนไทย เดินหน้าโกอินเตอร์บุก “ทีมอลล์”

นวัตกรรมสกินแคร์จากทุเรียน “ดูร์เรียนาร์ บาย เอสคิว” ฝีมือคนไทย เดินหน้าโกอินเตอร์บุก “ทีมอลล์”

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.