mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“ดีพร้อม” ลุยแผนเร่งพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ เพิ่มขีดความสามารถอุตสาหกรรมไทย

“ดีพร้อม” ลุยแผนเร่งพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ เพิ่มขีดความสามารถอุตสาหกรรมไทย

0

             กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (ดีพร้อม) ลุยแผนบูรณาการเร่งพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ ประจำปี 64 มุ่งพัฒนาขีดความสามารถการบริหารจัดการโลจิสติกส์สถานประกอบการ โดยเฉพาะ SME ซึ่งคาดว่าสามารถลดต้นทุนโลจิสติกส์ให้กับผู้ประกอบการเป็นมูลค่ากว่า 800 ล้านบาท

             นายณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า บทบาทหน้าที่หลักของดีพร้อม คือ การเพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพภาคการผลิตให้อุตสาหกรรมไทย โดยหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญที่ดีพร้อมได้เร่งดำเนินการ คือ การบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน โดยมีเป้าหมายเพิ่มประสิทธิภาพสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายให้ทันสมัยและได้มาตรฐานสากล รวมทั้งสถานประกอบการที่มีต้นทุนด้านโลจิสติกส์ค่อนข้างสูง จะต้องลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ทั้งในด้านการจัดการสินค้าคงคลัง การจัดการคลังสินค้า การจัดการการขนส่ง และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดต้นทุนโลจิสติกส์ทั้งหมด

             จากแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว ดีพร้อมจึงได้เดินหน้าเร่งผลักดันโครงการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรมให้แก่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและวิสาหกิจโดยมีเป้าหมายในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดรวมถึงการเพิ่มความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันขององค์กร การพัฒนาระบบมาตรฐานด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานให้เข้าสู่ระบบมาตรฐานสากลของโลก เพื่อให้มีศักยภาพและได้ผลสัมฤทธิ์ต่อการปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ รวมไปถึงการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ

              ซึ่งต้นทุนโลจิสติกส์ของภาคอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 3 ด้านหลัก 1. ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Inventory Holding Cost) ได้แก่ ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) และต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Cost) 2. ต้นทุนการขนส่งสินค้า (Transportation Cost) และ 3. ต้นทุนการบริหารจัดการ (Administration Cost) นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสำหรับสถานประกอบการใน 3 มิติหลัก ๆ คือ ต้นทุน เวลา และความน่าเชื่อถือ ซึ่งถือเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินธุรกิจ

             ทั้งนี้ กิจกรรมสำคัญของโครงการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 5 กิจกรรมหลัก คือ 1. กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโลจิสติกส์ เพื่อการลดต้นทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 2. กิจกรรมพลิกธุรกิจด้วยโลจิสติกส์กับการบริหารจัดการบรรจุภัณฑ์ (Business Rebirth by Logistics (BRL))  3. กิจกรรมเสริมสร้างความร่วมมือด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ดำเนินการโดยการ Coaching การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยง (Supply Chain Network) และสร้างความร่วมมือในโซ่อุปทานทั้งภายในและภายนอกกลุ่มอุตสาหกรรม 4. กิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Workshop) สัญจรขยายผลความรู้ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภาคอุตสาหกรรมสู่ภูมิภาค 5. กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับบุคลากร

             “ดีพร้อมตั้งเป้าในการดำเนินงานในปี 2564 คือการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการลดลงคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ ไม่น้อยกว่า 800 ล้านบาทซึ่งสถานประกอบการเป้าหมายในปี 2564 อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีต้นทุนโลจิสติกส์สูง ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปิโตรเคมีและพลาสติก ยานยนต์และชิ้นส่วน ยางพาราและผลิตภัณฑ์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม และสถานประกอบการ เช่น เกษตรแปรรูป และเครื่องจักรกลรวมถึงดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการไม่ต่ำกว่า 170 กิจการ และพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรมให้มีทักษะและองค์ความรู้ด้านจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่นำไปใช้ได้จริงไม่ต่ำกว่า จำนวน 100 ราย” ณัฐพล กล่าวทิ้งท้าย

ShareTweetShare
Previous Post

มหิดล วิจัย “ชุดตรวจคัดกรองโรคในปาก” รู้ผลได้เร็ว

Next Post

NIA ส่งเสริมสตาร์ทอัพไทย โชว์ 3 นวัตกรรมเพื่อการเกษตรยุคใหม่ ฝีมือคนไทย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ

5 months ago
48
รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง

5 months ago
105
FleXARs นวัตกรรมฟิล์มป้องกันเพรียงเกาะผิวเรือเดินสมุทร เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

FleXARs นวัตกรรมฟิล์มป้องกันเพรียงเกาะผิวเรือเดินสมุทร เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

6 months ago
25
รถขนส่งไฟฟ้า 3 ล้อตู้บรรทุก “โอทู (O2)” ตอบโจทย์ขนส่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

รถขนส่งไฟฟ้า 3 ล้อตู้บรรทุก “โอทู (O2)” ตอบโจทย์ขนส่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

7 months ago
109
Load More
Next Post
NIA ส่งเสริมสตาร์ทอัพไทย โชว์ 3 นวัตกรรมเพื่อการเกษตรยุคใหม่ ฝีมือคนไทย

NIA ส่งเสริมสตาร์ทอัพไทย โชว์ 3 นวัตกรรมเพื่อการเกษตรยุคใหม่ ฝีมือคนไทย

วว. วิจัยพัฒนา “AcAnes” ผลิตภัณฑ์เจลชาเฉพาะที่จากสารสกัดผักคราดหัวแหวน

วว. วิจัยพัฒนา “AcAnes” ผลิตภัณฑ์เจลชาเฉพาะที่จากสารสกัดผักคราดหัวแหวน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.