mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“N Health” ส่งมอบหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะ แบ่งเบาภาระเจ้าหน้าที่ รพ.สนาม

“N Health” ส่งมอบหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะ แบ่งเบาภาระเจ้าหน้าที่ รพ.สนาม

0

           “N Health” ผู้ให้บริการด้านการสนับสนุนบริการทางการแพทย์และธุรกิจโรงพยาบาล ส่งมอบหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะ HealthyBot ให้โรงพยาบาลสนามบุษราคัม อิมแพค เมืองทองธานี โรงพยาบาลสนามขนาด 5,000 เตียง รักษาผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง

            นายสุพิชัย วิจิตรภาพ ผู้อำนวยการฝ่ายขายเครื่องมือแพทย์ บริษัท เนชั่นแนล เฮลท์แคร์ ซิสเท็มส์ (N Health) ให้ข้อมูลว่า การส่งมอบหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะ HealthyBot (Model D) เพื่อเข้าปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสนาม ร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 เพื่อลดความเสี่ยงต่อการสัมผัส โดยคุณสมบัติของหุ่นยนต์ดังกล่าว มีหน้าที่ส่งยา อาหาร ยาและเวชภัณฑ์ หรือสิ่งของที่จำเป็นให้แก่ผู้ป่วยติดเชื้อ รวมถึงใช้นำทางผู้ป่วย เป็นการแบ่งเบาภาระงาน ช่วยลดความเสี่ยงในการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และเพิ่มความปลอดภัย

             สำหรับหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะ HealthyBot (Model D) รองรับน้ำหนักสัมภาระในการบรรทุกได้ถึง 60 กิโลกรัม สามารถทำงานด้วยการกดคำสั่งเพียงครั้งเดียว หุ่นยนต์จะทำงานแบบอัตโนมัติ โดยหุ่นยนต์จะคำนวนเส้นทางเดิน รวมถึงหลบอุปสรรคเพื่อให้เดินทางไปถึงจุดหมายที่ต้องการ และเมื่อปฏิบัติการเสร็จจะกลับไปยังแท่นชาร์จได้เอง จึงทำให้สมรรถภาพทำงานได้ต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

            หน่วยงานวิศวกรรมทางการแพทย์ ของ N Health ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการ หรือ Servies Operating Model ขึ้น เพื่อรองรับการให้บริการที่ตรงความต้องการของผู้ใช้ อย่างเหมาะสมกับลักษณะของงาน  โดยเปิดตัวหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะ ทั้งหมด 5 รุ่น คือ Healthy Bot, Health Bot T1, Healthy Bot T5, Health Box (B) และ Healthy Bot (D)  โดยบริษัทฯ มีแผนที่จะส่งมอบหุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะในรุ่นต่างๆ เพื่อให้ทำงานร่วมบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล โรงพยาบาลสนามอื่นๆ รวม ตลอดจนอาคาร ร้านค้า สถานที่ต่างๆ ที่มีความทันสมัยและต้องการปรับระบบมาให้บริการแบบผสมผสานการใช้นวัตกรรมหุ่นยนต์

             หุ่นยนต์ผู้ช่วยอัจฉริยะนี้ เป็นอีกหนึ่งผลงานที่สะท้อนถึงความมุ่งมั่นในการใช้นวัตกรรม เพื่อยกระดับการบริการทางการแพทย์ ของหน่วยงานวิศวกรรมทางการแพทย์ N Health ผู้ซึ่งให้บริการดูแลบำรุงรักษาอุปกรณ์ทางการแพทย์และบริการบริหารจัดการอุปกรณ์อย่างเป็นระบบ ทั้งโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน รวมถึงห้องปฏิบัติการและสถานพยาบาลต่างๆ เพื่อช่วยให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ShareTweetShare
Previous Post

Memo Face Scan: หุ่นยนต์สแกนใบหน้าอัจฉริยะ

Next Post

จุฬาฯ ร่วมกับ ปตท. พัฒนาหน้ากากอนามัย 2 in1 กันฝุ่นและไวรัส เพื่อสุขภาพชีวิตวิถีใหม่

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”
News

วช. ขนทัพสิ่งประดิษฐ์ของไทยและนานาชาติ ประชันกว่า 1,000 ผลงาน ในงาน “วันนักประดิษฐ์ 2566”

4 months ago
20
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
Science

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

4 months ago
13
สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
Innovation

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

4 months ago
18
NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566
News

NIA เผย 7 เทรนด์นวัตกรรมที่น่าจับตามองในปี 2566

5 months ago
13
Load More
Next Post
จุฬาฯ ร่วมกับ ปตท. พัฒนาหน้ากากอนามัย 2 in1 กันฝุ่นและไวรัส เพื่อสุขภาพชีวิตวิถีใหม่

จุฬาฯ ร่วมกับ ปตท. พัฒนาหน้ากากอนามัย 2 in1 กันฝุ่นและไวรัส เพื่อสุขภาพชีวิตวิถีใหม่

ไบโอเทคร่วมมือกับมหิดล คิดค้นแนวทางการผลิตวัคซีนในกุ้งทะเล

ไบโอเทคร่วมมือกับมหิดล คิดค้นแนวทางการผลิตวัคซีนในกุ้งทะเล

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.