mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center

นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

“บรรจุภัณฑ์ชานอ้อย” ผลิตภัณฑ์รักษ์โลก ย่อยสลายเองได้ใน 45 วัน ทดแทนโฟมและพลาสติก

บริษัท น้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด (มหาชน) หรือ BRR ผุดไอเดียผลิตภัณฑ์ “ชานอ้อย” เสิร์ฟตรงผู้บริโภค ชูจุดเด่นรักษ์โลก ซึ่งบรรจุภัณฑ์ชานอ้อย มีจุดเด่นเป็นเยื่อไม่ฟอกย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติด้วยการฝังกลบ ไม่เกิน 45-60 วัน ไม่ทำลายหน้าดิน...

Read more

มหิดล ค้นพบสารสกัดจากใบมะรุมใช้ลดมลพิษในสิ่งแวดล้อมได้ครั้งแรก

ในอาณาจักรแห่งโลกของจุลินทรีย์ ยีสต์ (yeasts) ถือเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดจิ๋วที่กุมความลับของจักรวาล โดยเป็นเซลล์ต้นกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจำนวนมาก ทั้งพืชและสัตว์ แม้กระทั่งมวลมนุษยชาติก็พบว่ามีวิวัฒนาการมาจากจุลชีพดึกดำบรรพ์ชนิดนี้เช่นเดียวกัน ด้วยโครงสร้างที่น่ามหัศจรรย์ของยีสต์ที่สามารถนำมาใช้เป็นโมเดลในการศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ทำให้เกิดเป็นงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำไปขยายผลต่อยอดได้อีกมากมาย ซึ่งรวมถึงผลงานชิ้นเอกของทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล ที่นับเป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ "ปัญญาของแผ่นดิน" รองศาสตราจารย์ ดร.ชูวงศ์ เอื้อสุขอารี...

Read more

นวัตกรรม “กระดาษสาทนน้ำ” ยกระดับเพิ่มมูลค่าการใช้งานเทียบเท่าถุงพลาสติก

ใครที่คิดว่า “กระดาษสา” มีไว้เพียงทำสมุดโน้ต หรือกระดาษห่อของขวัญ คงต้องเปลี่ยนความคิดใหม่เสียแล้ว เมื่อบริษัท ซิมพลิ เด็คคอร์ จำกัด โรงงานกระดาษบ้านต้นเปา จังหวัดเชียงใหม่ หันมาใช้นวัตกรรมผสานภูมิปัญญาพัฒนา “กระดาษสาทนน้ำ” ยกระดับเพิ่มมูลค่าการใช้งานเทียบเท่าถุงพลาสติก ภายใต้การสนับสนุนของโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือ โปรแกรม ITAP (Innovation...

Read more

นวัตกรรมรักษ์โลก “รถ mobile refill station” ช่วยลดขยะบรรจุภัณฑ์อย่างยั่งยืน

ปัจจุบัน ทุกภาคส่วนได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการดำเนินกิจการที่มุ่งลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะภาคประกอบการให้ความสำคัญกับการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย ตลอดระยะเวลาการดำเนินธุรกิจ 53 ปี เน้นการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค ภายใต้ความเข้าใจระบบนิเวศน์ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม...

Read more

นวัตกรรม “จุลินทรีย์ขจัดคราบน้ำมันในทะเล” ผลิตภัณฑ์ชีวภาพจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ

             คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ วิจัยจุลินทรีย์กินน้ำมัน พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อขจัดคราบน้ำมันปนเปื้อนในทะเล พร้อมต่อยอดสู่การผลิตในระดับอุตสาหกรรมเพื่อความยั่งยืนของระบบนิเวศ อุบัติการณ์น้ำมันดิบรั่วไหลจากท่อขนส่งน้ำมันใต้ทะเลในพื้นที่จังหวัดระยอง เมื่อต้นปี 2565 ทีผ่านมา เป็นอีกหนึ่งเหตุการณ์ที่สร้างความเสียหายให้กับระบบนิเวศทางทะเลอย่างมหาศาล...

Read more

คืนคุณค่าพลาสติกใช้แล้วด้วยนวัตกรรม PCR ช่วยลดขยะและก๊าซเรือนกระจก

             กระแสรักษ์โลกที่มาแรง ทำให้ผู้บริโภคหันมาใช้สินค้าที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมกันมากขึ้น โดยจากผลสำรวจของ Kantar (2021) พบว่า 47 % ของผู้บริโภคสายรักษ์โลก (Eco-Actives)...

Read more

นวัตกรรมเพิ่มมูลค่าเจลาตินเหลือทิ้งในอุตสาหกรรมยา ลดการเผาขยะ ตอบโจทย์ซีโร่เวสต์

อาหารสุขภาพสำหรับสุนัข เป็น 1 ใน 4 ผลผลิตจากโครงการวิจัยสร้างมูลค่าให้กับเจลาตินเหลือทิ้งในอุตสาหกรรมยา ล่าสุดอยู่ระหว่างขั้นตอนการขอจดอนุสิทธิบัตร พร้อมส่งต่อองค์ความรู้ให้ผู้ประกอบการ ตอบโจทย์ “ขยะเป็นศูนย์ (zero  waste)” ทั้งลดปริมาณขยะเจลาตินและลดมลพิษทางอากาศเนื่องจากการเผากำจัดขยะเจลาติน      ...

Read more

สร้างมูลค่า “ถุงน้ำยาล้างไต” สู่ผลิตภัณฑ์อัพไซคลิ่ง

              12 องค์กรชั้นนำทั่วประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน นำโดย ไปรษณีย์ไทย, ไปรษณีย์ไทยดิสทริบิวชั่น, ดอยคำ, องค์การเภสัชกรรม, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก,...

Read more

วช. หนุนทีมวิจัย ม.มหิดล พัฒนา “ต้นแบบเครื่องผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบอัตโนมัติ”

            วช.หนุนทีมวิจัย ม.มหิดล พัฒนากลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการเปลี่ยนขยะอินทรีย์ไปเป็นปุ๋ยอินทรีย์ และพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบเครื่องผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบอัตโนมัติ ผลิตปุ๋ยได้ภายใน 24 ชั่วโมง  เพื่อช่วยลดปัญหาขยะและลดการนำเข้าเทคโนโลยีราคาแพงจากต่างประเทศ  ดร.วิภารัตน์  ดีอ่อง...

Read more

ม.มหิดล ร่วมกับ สกสว. และ NSFC สาธารณรัฐประชาชนจีน ลุยสำรวจวงปีไม้และหินงอก ปกป้องล่มสลายอารยธรรมมนุษย์ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

นวัตกรรมสร้างสรรค์เทคโนโลยีเพื่อตอบโจทย์ต่างๆ ของโลกที่ยังรอคอยการค้นพบ โดยมีความจำเป็นต่อการพัฒนาสังคมในทุกระดับ รวมถึงชุมชน ซึ่งเปรียบเหมือนรากฐานของสังคม จากความเชี่ยวชาญทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ด้วยต้นทุนที่มาจากการเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบันพบว่าไม่อาจทำให้ยั่งยืนได้ หากไม่ผนวกกับองค์ความรู้แบบบูรณาการจากสาขาวิชาอื่น จึงได้ทำให้แนวโน้มการจัดตั้งหลักสูตรใหม่ของมหาวิทยาลัยมหิดลทุกวันนี้ ส่วนใหญ่เปิดกว้างสู่สหสาขาวิชา เพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่แท้จริงของสังคมโลกยุคปัจจุบัน นายแพทย์สุรพร ลอยหา รองอธิการบดีฝ่ายโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ...

Read more
Page 3 of 6 1 2 3 4 6