mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center

นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

นวัตกรรม “SCG Bi-ion” สร้างอากาศสะอาด เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนไทย

               กรุงเทพฯ – SCG Bi-ion โดย SCG มุ่งมั่นนำเสนอโซลูชันเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตการอยู่อาศัยให้ดียิ่งขึ้น ด้วยการนำเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตภายในอาคาร โดยเฉพาะปัญหาด้านสุขภาพ...

Read more

ไอเดียรักษ์โลกสุดครีเอท “ฟองน้ำจากผักตบชวา” ตอบโจทย์นวัตกรรมเศรษฐกิจหมุนเวียน

“ฟองน้ำที่ผลิตจากเส้นใยของผักตบชวา เป็นไอเดียที่เราใช้ตีโจทย์คิดนวัตกรรมเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยมองจากปัญหาขยะฟองน้ำในครัวเรือนที่ต้องใช้แล้วทิ้งเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถนำไปใช้งานต่อได้ เอามาจับคู่กับปัญหาผักตบชวาล้นคลองที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว และทำให้เกิดปัญหาการสัญจรในแม่น้ำ และคูคลอง” อภิชญา วงศ์เจริญวาณิชย์ (จีจี้) บัวบูชา ตัญฑโญภิญ (บัว) สิรินัดดา เอกชัย (โจดี้) และ...

Read more

นวัตกรรมแยกกระดาษ พลาสติกพอลิเอทิลีน ออกจากอะลูมิเนียมฟอยล์ ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

"บรรจุภัณฑ์ปลอดเชื้อ" หรือบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มยูเอชที โดยส่วนใหญ่จะใช้บรรจุนม หรือเครื่องดื่ม เพื่อที่จะสามารถเก็บรักษาได้ในอุณหภูมิห้อง เรียกบรรจุภัณฑ์ชนิดนี้โดยทั่วไปว่ากล่อง UHT เป็นกล่องบรรจุอาหารที่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อซึ่งให้ความร้อนสูงเป็นระยะเวลาสั้นๆ ประมาณ 1-2 วินาที ที่อุณหภูมิ 135 องศาเซลเซียส หรือที่เรียกว่า Uttra...

Read more

SCG โชว์นวัตกรรม “รถกู้อากาศบริสุทธิ์เคลื่อนที่” สร้างอากาศสะอาดใจกลางเมือง

SCG เดินหน้ายกระดับคุณภาพชีวิตคนไทย พัฒนานวัตกรรม “ระบบ SCG Bi-ion ระบบกำจัดเชื้อโรคในอากาศ” จำลองอากาศบริสุทธิ์จากใจกลางป่า สัญจรสู่ใจกลางเมือง เผยโรงพยาบาล ออฟฟิศสำนักงาน โรงเรียน และร้านอาหาร เริ่มติดตั้งแล้ว ผู้สื่อข่าวรายงานว่า SCG...

Read more

ม.มหิดล ค้นพบทางออกวิกฤติแร่หินฟอสฟอรัสใกล้หมดโลก วิจัยแปรรูปกากตะกอนสิ่งปฏิกูลจากโรงบำบัดสิ่งปฏิกูลและขยะเศษอาหารใช้ทำปุ๋ยทดแทน

ในความมืดมิด จะทำให้เรามองเห็นแสงสว่างได้ชัดเจนกว่าที่คิด แม้จะส่องสว่างเพียงน้อยนิด เช่นเดียวกับวิกฤติอาหารที่โลกกำลังเผชิญ สามารถพิชิตได้ด้วยการใช้ปัญญา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิธิดา พัฒนอิสรานุกูล อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ร่วมกับรองศาสตราจารย์ ดร.จงจินต์ ผลประเสริฐ (หัวหน้าโครงการวิจัย) จากภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...

Read more

นศ.วิศวะมหิดล พัฒนาการดักจับก๊าซคาร์บอนฯ ด้วยวิธีไครโอเจนิค และรีไซเคิลมาใช้ผลิตเมทานอล

โตเกียว ลอนดอน นิวยอร์คและหลายประเทศในยุโรป เผชิญกับอุณหภูมิสูงจากคลื่นความร้อน (Heat Wave) มีผู้เจ็บป่วยรุนแรงและเสียชีวิตหลายราย รวมทั้งอุบัติภัยต่างๆ เป็นสัญญานเตือนถึงผลกระทบจาก “ภาวะโลกร้อน” ที่รุนแรงขึ้นทุกปี จากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ภาคการขนส่ง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม การตัดไม้ทำลายป่า และอื่นๆ...

Read more

“รักษ์ทะเล” ฟื้นฟูทะเลด้วยบ้านปะการัง นวัตกรรม CPAC 3D Printing Solution

             "โลกใต้ทะเล" ดูจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่รบกวนธรรมชาติ ทำให้เกิดความเสื่อมโทรมแก่ทรัพยากรทางทะเลรวมถึงความอุดมสมบูรณ์ของปะการัง  ซึ่งการฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและปะการังนั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน จำเป็นต้องมีองค์ความรู้ทางวิชาการอย่างลึกซึ้งและการบริหารจัดการอย่างถูกต้องเหมาะสม จึงเกิดเป็นความร่วมมือจากองค์กรพันธมิตรที่มีเจตนารมณ์ เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของไทยให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ดังเดิม      ...

Read more

นวัตกรรมเตาเผาศพอัจฉริยะ ลดปริมาณสารก่อมะเร็งในอากาศ

เกิด แก่ เจ็บ ตาย นับว่าเป็นวิถีทางธรรมชาติของมนุษย์ แต่ละช่วงชีวิตก็มีปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการใช้ชีวิต มลพิษทางอากาศทุกวันนี้นอกจากจะมาจากปัญหาหมอกควันบนท้องถนน ปัญหาการเผาป่า และ จากโรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่ได้มาตรฐานแล้ว ยังมีมลพิษที่เกิดจากเตาเผาศพของแต่ละวัด โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ในตัวเมือง และ ย่านชุมชน...

Read more

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องกำจัดขยะอินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้ง สู้วิกฤติ COVID-19 และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ท่ามกลางวิกฤติโรคระบาด ทำให้ประชาชนต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อ ซึ่งปัญหาเรื้อรังของทุกชุมชนในช่วงหน้าฝน หนีไม่พ้นเรื่องการกำจัดขยะอินทรีย์ อาจารย์ ดร.นรินทร์ บุญตานนท์ หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม (Center and Technology Development for Environmental Innovation...

Read more

ม.มหิดล คิดค้นนวัตกรรมเส้นใยสับปะรดบำบัดน้ำเสียจากโรงงาน ช่วยโลกพ้นวิกฤติมลพิษ

สับปะรดเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีมูลค่าส่งออกเป็นลำดับต้นๆ ของประเทศไทย นอกจากส่วนใหญ่นิยมนำเนื้อสับปะรดมารับประทานแล้ว ยังพบว่าทุกส่วนของสับปะรดยังสามารถนำมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้อีกมากมาย รวมทั้งเพื่อสิ่งแวดล้อม   รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คือนักวิทยาศาสตร์ไทยผู้มีผลงานเป็นที่ประจักษ์มาอย่างยาวนานด้านการสร้างนวัตกรรมโดยใช้ประโยชน์จากส่วนต่างๆ ของสับปะรด แม้กระทั่งในส่วนที่เหลือทิ้งเป็นจำนวนมหาศาลจากภาคเกษตรกรรม ก็สามารถนำมาแปรเปลี่ยนให้เกิดมูลค่าสูงต่อไปได้ในภาคอุตสาหกรรม...

Read more
Page 2 of 6 1 2 3 6