mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรมตรวจวัดน้ำหนักรถไฟ เพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัยในการการขนส่งสินค้า

นวัตกรรมตรวจวัดน้ำหนักรถไฟ เพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัยในการการขนส่งสินค้า

0

              สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) พัฒนาระบบอุปกรณ์วัดน้ำหนักรถไฟแบบพลวัตร ที่สามารถตรวจวัดน้ำหนักรถไฟและน้ำหนักของตู้สินค้าได้ขณะแล่นบนราง และสามารถติดตามตู้คอนเทนเนอร์ขนส่งสินค้าทางรางเชื่อมต่อกับการขนส่งทางถนนได้ โดยได้รับงบสนับสนุนจากกองทุน Perez-Guerrero Trust Fund หรือ PGTF ภายใต้โปรแกรมการพัฒนาของสหประชาชาติ (UNDP)  มีการตั้งเป้าติดตั้งอุปกรณ์เพื่อใช้งานใน 3 พื้นที่ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งสินค้า เสริมความปลอดภัยของการขนส่งสินค้าทางระบบรางและทางถนน ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีต่างชาติในอนาคต

              พร้อมต่อยอดการใช้จริงให้กับหน่วยงานรถไฟของประเทศไทย เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ส่งเสริมการผลิต local content ระบบรางให้แก่ผู้ประกอบการไทย ในด้านเทคโนโลยีสนับสนุนการเดินรถขนส่งทางราง

              ทั้งนี้ ได้ริเริ่มพัฒนาเทคโนโลยีตรวจติดตามและเฝ้าระวังทางระบบรางเพื่อเสริมสมรรถนะงานซ่อมบำรุง จนประสบผลสำเร็จในการวิจัยและพัฒนา “ระบบและอุปกรณ์วัดน้ำหนักพลวัตรของล้อรถไฟ” หรือ TWD โดยเป็นงานระบบตรวจวัดน้ำหนักรถไฟแบบพลวัตร ซึ่งสามารถวัดน้ำหนักรถไฟและตู้สินค้าได้อย่างแม่นยำขณะแล่นบนราง และสามารถใช้ติดตามตู้คอนเทนเนอร์ขนส่งสินค้าทางรางเชื่อมต่อกับการขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ทางถนนได้อีกด้วย โดยระบบนี้จะเสริมประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการขนส่งสินค้าทางระบบรางและทางถนน ส่งเสริมการผลิต local content ระบบรางให้แก่ผู้ประกอบการไทยในด้านเทคโนโลยีสนับสนุนการเดินรถขนส่งทางราง 

             ดร.อาณัติ หาทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง กล่าวเพิ่มเติมว่า วว. หารือกับการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อนำเสนอรายละเอียดคุณลักษณะของอุปกรณ์และขออนุมัติติดตั้งเพื่อสาธิตการใช้งานอุปกรณ์วัดน้ำหนักรถไฟ ติดตามสถานะและระบุคุณลักษณะรถไฟ ให้แก่คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่การรถไฟแห่งประเทศไทย โดย ศทร. ได้นำเสนอภาพรวมภารกิจการดำเนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่  

  1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการทดสอบระบบราง  

  2. การสนับสนุนผู้ประกอบการไทย  

  3. การยกร่างมาตรฐานระบบรางไทย  

  4. การวิจัยพัฒนาของ ศทร. ซึ่งมุ่งเน้น Industrial research ในด้าน Operation & Maintenance (O&M) 

  5. การถ่ายทอดเทคโนโลยี 

              นอกจากนี้ ได้นำเสนอภาพรวมของโครงการติดตั้งระบบตรวจวัดน้ำหนักฯ ในเส้นทางการขนส่งสินค้าทางรางสายตะวันออก สถานีแหลมฉบัง – สถานี ICD ลาดกระบัง โดยจะมีการติดตั้งอุปกรณ์น้ำหนักพลวัตรของล้อรถไฟและ TWD จำนวน 2 สถานี และติดตั้งอุปกรณ์ IDENT ที่ประกอบด้วยกล้องระบุคุณลักษณะ 2 สถานี และอุปกรณ์ระบุตำแหน่งรถจักรจำนวน 3 สถานี ซึ่ง ศทร. ได้เข้าไปสำรวจความพร้อมของสถานีต่างๆ ในเส้นทางดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว

ShareTweetShare
Previous Post

ทรายแมวจากมันสำปะหลัง “ไฮด์แอนด์ซีค” ฝีมือนักวิจัยจุฬาฯ ปลอดภัย ไร้ฝุ่น สร้างรายได้ให้เกษตรกร

Next Post

7 สุดยอด นวัตกรรมทางการแพทย์ ฝีมือคนไทย ตอบโจทย์เทรนด์รักสุขภาพ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

2 weeks ago
99
“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ

5 months ago
48
รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง
นวัตกรรมด้านการขนส่ง

รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง

5 months ago
104
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

5 months ago
22
Load More
Next Post
7 สุดยอด นวัตกรรมทางการแพทย์ ฝีมือคนไทย ตอบโจทย์เทรนด์รักสุขภาพ

7 สุดยอด นวัตกรรมทางการแพทย์ ฝีมือคนไทย ตอบโจทย์เทรนด์รักสุขภาพ

ม.มหิดล ร่วมวิจัยทีมแพทย์ไทยและอเมริกัน ใช้ AI วิเคราะห์ข้อมูลปลูกถ่ายไต ได้ตีพิมพ์วารสารวิชาการระดับโลก

ม.มหิดล ร่วมวิจัยทีมแพทย์ไทยและอเมริกัน ใช้ AI วิเคราะห์ข้อมูลปลูกถ่ายไต ได้ตีพิมพ์วารสารวิชาการระดับโลก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.