mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC | ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย
No Result
View All Result
ม.มหิดล ร่วมวิจัยทีมแพทย์ไทยและอเมริกัน ใช้ AI วิเคราะห์ข้อมูลปลูกถ่ายไต ได้ตีพิมพ์วารสารวิชาการระดับโลก

ม.มหิดล ร่วมวิจัยทีมแพทย์ไทยและอเมริกัน ใช้ AI วิเคราะห์ข้อมูลปลูกถ่ายไต ได้ตีพิมพ์วารสารวิชาการระดับโลก

0

             “ความหวัง” คือ สิ่งเดียวที่คอยยึดเหนี่ยวให้ผู้ป่วยโรคไตที่กำลังรอรับการบริจาคเกิดแรงศรัทธาพร้อมสู้หายใจต่อไป แม้ไม่อาจล่วงรู้ได้ว่าผลการปลูกถ่ายไตจะเป็นเช่นไร

               ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวไกลทางด้านการปลูกถ่ายไต นอกจากจะทำให้ผู้ป่วย โรคไตวายระยะสุดท้ายได้รับการรักษาที่ดีที่สุดแล้ว ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ยังช่วยทำนายผลการปลูกถ่ายไตให้ผู้ป่วยและญาติได้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจก่อนเข้ารับการปลูกถ่ายไตได้ต่อไปอีกด้วย

               รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จักรพงษ์ บรูมินเหนทร์ อายุรแพทย์โรคติดเชื้อจากสาขาวิชาโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ และ ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เปิดเผยถึงความคืบหน้าของงานวิจัยเกี่ยวกับการใช้ AI เพื่อช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยปลูกถ่ายไต (Use of Machine Learning Consensus Clustering  to Identify Distant Subtypes of Black Kidney Transplant Recipients and Associated Outcomes)

               จากที่ได้ร่วมวิจัยกับทีมแพทย์ชาวไทยและอเมริกันที่มากด้วยประสบการณ์ ณ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับโลก JAMA SURGERY ซึ่งเป็น Top 1% ของโลก ได้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

               นับเป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ “ปัญญาของแผ่นดิน” ตามปณิธานฯ ที่บุคลากรระดับอาจารย์แพทย์ของมหาวิทยาลัยมหิดล สามารถสร้างชื่อเสียงจากการวิจัยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ “Machine Learning” จัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) ของผู้ป่วยโรคไตที่เข้ารับการปลูกถ่ายไต

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จักรพงษ์ บรูมินเหนทร์

              จากการได้มีโอกาสร่วมวิจัยกับทีมผู้วิจัย ณ สหรัฐอเมริกาในช่วงหนึ่งที่ผ่านมา โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ชรัต ทองประยูร และ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วิสิทธิ์ จึงประสิทธิ์พร อายุรแพทย์โรคไต เมโยคลินิก สหรัฐอเมริกา เป็นหัวหน้าโครงการ

               โดย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จักรพงษ์ บรูมินเหนทร์ และทีมวิจัย ได้ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์จัดการข้อมูลผู้ป่วยโรคไต พบว่า การปลูกถ่ายไตจากผู้บริจาคไตที่ยังมีชีวิตอย่างทันท่วงที ให้ผลลัพธ์ของการทำงานต่อไตที่ปลูกถ่าย และการรอดชีวิตที่ยืนยาวกว่าการปลูกถ่ายไตจากผู้บริจาคที่เสียชีวิต ในผู้ป่วยโรคไตที่มีโรคประจำตัว

               สาเหตุสำคัญเนื่องจากโดยปกติแล้วผู้ป่วยโรคไตระยะสุดท้ายที่จำเป็นต้องเข้ารับการฟอกเลือด หรือล้างไตทางหน้าท้องเป็นประจำ มักไม่แข็งแรง และเสี่ยงต่อการเสียชีวิต การปลูกถ่ายไตในผู้ป่วยดังกล่าวจะเพิ่มคุณภาพชีวิต รวมถึงการรอดชีวิตที่ดีกว่า ซึ่งแน่นอนที่สุดว่า ไตที่ได้รับจากผู้บริจาคที่ยังคงมีชีวิตอยู่ ย่อมมีสภาพที่สมบูรณ์กว่า

               แม้ผลการวิจัยจะมาจากฐานข้อมูลของผู้ป่วยปลูกถ่ายไตชาวอเมริกัน แต่เชื่อมั่นว่าจะสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กับผู้ป่วยโรคไตชาวไทยได้เป็นอย่างดี โดยอาจนำข้อมูลจากฐานข้อมูลผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายไตจาก ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กว่า 2,000 ราย ที่ได้รับการปลูกถ่ายไตในรอบกว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา

                แม้ไม่อาจล่วงรู้ล่วงหน้าได้แน่นอน 100% ว่า ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายไตจะมีผลลัพธ์ในการรักษาอย่างไรภายหลังได้รับการปลูกถ่ายไต มหาวิทยาลัยมหิดลพร้อมเป็นกำลังใจ และเป็นกำลังสำคัญในการผลักดันและสนับสนุนให้นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลทุกท่านสามารถเอาชนะ “ขีดจำกัด” ในการค้นคว้าหาองค์ความรู้ใหม่ที่อาจเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติให้ได้มากที่สุด ผ่านการทำงานวิจัยที่ทุ่มเทของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลที่เปี่ยมล้นด้วยคุณภาพต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง

ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

7 สุดยอด นวัตกรรมทางการแพทย์ ฝีมือคนไทย ตอบโจทย์เทรนด์รักสุขภาพ

Next Post

SCG โชว์นวัตกรรม “รถกู้อากาศบริสุทธิ์เคลื่อนที่” สร้างอากาศสะอาดใจกลางเมือง

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

10 months ago
58
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

10 months ago
32
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

10 months ago
127
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

10 months ago
62
Load More
Next Post
SCG โชว์นวัตกรรม “รถกู้อากาศบริสุทธิ์เคลื่อนที่” สร้างอากาศสะอาดใจกลางเมือง

SCG โชว์นวัตกรรม “รถกู้อากาศบริสุทธิ์เคลื่อนที่” สร้างอากาศสะอาดใจกลางเมือง

“นวัตกรรม COVID-19 iMAP” คว้ารางวัลเลิศรัฐ 2 ปีซ้อน ในการใช้เทคโนโลยีอวกาศทำงานเพื่อสังคม

“นวัตกรรม COVID-19 iMAP” คว้ารางวัลเลิศรัฐ 2 ปีซ้อน ในการใช้เทคโนโลยีอวกาศทำงานเพื่อสังคม

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    99 shares
    Share 40 Tweet 25
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    81 shares
    Share 32 Tweet 20
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    79 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    73 shares
    Share 29 Tweet 18
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    72 shares
    Share 29 Tweet 18

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
196

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
80

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
40

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
54

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
48
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.