mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรมยางพาราผงสู่ผลิตภัณฑ์ผ้าเบรกรถยนต์ มีประสิทธิภาพรับแรงเสียดทานและลดอัตราการสึกหรอ

นวัตกรรมยางพาราผงสู่ผลิตภัณฑ์ผ้าเบรกรถยนต์ มีประสิทธิภาพรับแรงเสียดทานและลดอัตราการสึกหรอ

0

             ยางพารา นับว่าเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย นิยมปลูกกันมากในพื้นที่จังหวัดทางภาคใต้  ปัจจุบันมีการนำไปปลูกในจังหวัดทางภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อนำไปแปรรูปในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อการจำหน่ายในประเทศและส่งออกไปต่างประเทศ ที่ผ่านมาเกษตรกรมักจะประสบปัญหาความผันผวนเรื่องราคาของยางพารา กระทั่งมีการคิดค้นนวัตกรรมที่ใช้วัตถุดิบจากยางพาราสู่กระบวนการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับยางธรรมชาติ ซึ่งรวมไปถึงนวัตกรรมยางพาราผงที่นำไปผลิตเป็นชิ้นส่วนผ้าเบรกรถยนต์ในอุตสาหกรรมยานยนต์  เป็นนวัตกรรมจากทีมวิจัยจาก ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

             ดร.วิภารัตน์  ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  กล่าวว่า วช. ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นองค์กรสำคัญของภาครัฐในการขับเคลื่อนพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและการประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง สร้างองค์ความรู้จากการวิจัยและสามารถนำมาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ และภาคอุตสาหกรรมในประเทศ เสริมสร้างกระบวนการผลิตอย่างครบวงจรโดยอาศัยเทคโนโลยี หนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร อาทิ พืชเศรษฐกิจอย่างยางพารา ด้วยคุณสมบัติความเหนียว ยืดหยุ่น แข็งแรงคงทนต่อทุกสภาวะ นำมาใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์อื่นๆ  อย่างงานวิจัยพัฒนายางพาราผงสำหรับใช้เป็นสารตัวเติมในการทำผ้าเบรกรถยนต์ ที่ทาง วช. ให้การสนับสนุนให้นักวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินการเป็นผลสำเร็จและนำใช้ประโยชน์ได้จริง

                ศาสตราจารย์ ดร.ศราวุธ  ริมดุสิต อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า ได้ร่วมกับทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ และบริษัท SCG โดยการสนับสนุนจาก วช. ในการพัฒนาอนุภาคยางพาราผงละเอียดยิ่งยวด ด้วยการกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชั่นสไตรีนอะคริโลไนไตล์ลงบนน้ำยางธรรมชาติผ่านกระบวนการอิมัลชั่นพอลิเมอร์ไรเซชั่น และนำไปผ่านกระบวนการเชื่อมขวางด้วยลำอิเล็กตรอน เพื่อผลิตเป็นอนุภาคยางพาราผงธรรมชาติละเอียดยิ่งยวดด้วยกระบวนการอบแห้งและพ่นฝอย โดยในปฏิกิริยากราฟต์โคพอลิเมอร์ไรเซชั่นด้วยสไตรีนและอะคริโลไนไตรล์สูงอยู่ที่ 71 % และมีประสิทธิภาพในการทำกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชั่นสูงถึง 63%

            ด้วยอนุภาคยางพาราผงละเอียดยิ่งยวดมีลักษณะไม่เหนียวติดกันหรือเกาะกลุ่ม สามารถปรับสภาพขั้วบนพื้นผิวให้เหมาะสมกับการนำไปผสมกับวัสดุอื่น และมีขนาดโดยเฉลี่ย 3.56 um รวมถึงมีคุณสมบัติทางความร้อนสูง ซึ่งเหมาะแก่การนำไปประยุกต์ใช้เป็นสารตัวเติมในวัสดุเสียดทานชนิดพอลิเบนซอกซาซีนคอมพอสิทที่ จากการประเมินสมบัติทางไทรโบโลยีพบว่าชิ้นงานมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานและอัตราการสึกหรอ อยู่ในช่วงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผ้าเบรกสำหรับยานยนต์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 97-2557 กำหนด ทดแทนยางสังเคราะห์ได้ ซึ่งนับว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับยางธรรมชาติ

             สำหรับต้นทุนการผลิตอนุภาคยางพาราขนาดละเอียดคิดเป็น 140 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตวัสดุเสียดทานชนิดพอลิเบนซอกซาซีนคอมพอสิทที่มีการเติมอนุภาคยางผงละเอียดยิ่งยวดที่ถูกปรับปรุงคุณสมบัติด้วยกราฟต์โคพอลิเมอไรเซชั่นด้วยสไตรีนและอะคริโลไนไตรส์ คิดเป็น 60-75 ต่อชิ้น จากองค์ความรู้ของนวัตกรรมผ้าเบรกจากยางพาราผงนี้ จะมีการขยายผลพัฒนาต่อยอดเสริมศักยภาพในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ รวมถึงเป็นการช่วยส่งเสริมเกษตรกรชาวสวนยางพาราให้ได้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์แปรรูปนี้มากยิ่งขึ้น

ShareTweetShare
Previous Post

EmpowerME แชทบอทโค้ชจากจุฬาฯ ฝึกฝนทักษะอนาคตที่ใช่เพื่ออาชีพที่ชอบ

Next Post

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ

ม.มหิดล ค้นพบทางออกวิกฤติแร่หินฟอสฟอรัสใกล้หมดโลก วิจัยแปรรูปกากตะกอนสิ่งปฏิกูลจากโรงบำบัดสิ่งปฏิกูลและขยะเศษอาหารใช้ทำปุ๋ยทดแทน

ม.มหิดล ค้นพบทางออกวิกฤติแร่หินฟอสฟอรัสใกล้หมดโลก วิจัยแปรรูปกากตะกอนสิ่งปฏิกูลจากโรงบำบัดสิ่งปฏิกูลและขยะเศษอาหารใช้ทำปุ๋ยทดแทน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.