mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ

0

             บนเส้นทางชีวิต การบรรลุสู่จุดหมายที่แท้จริง สำคัญที่ “การเลือก” โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกยุคดิจิทัลที่ไร้พรมแดน ที่ต้องติดปีก “นักเดินทาง” ด้วย “ภาษาคอมพิวเตอร์”

             เพื่อให้ “การเลือก” เส้นทางชีวิตของเยาวชนคนรุ่นใหม่ ซึ่งเปรียบเสมือน “นักเดินทางสู่อนาคตของมวลมนุษยชาติ” เป็นไปอย่างมีทิศทาง และยั่งยืน จำเป็นต้องมีการวางแผนที่ครอบคลุมการแก้ปัญหาในภาพรวมอย่างเป็นระบบ ประเทศไทยจึงได้บรรจุทักษะการคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) ไว้ในกลุ่มการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของเยาวชน ในยุทธศาสตร์ชาติด้านการเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)

              อาจารย์ ดร.ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวถึงความสำคัญของวิธีคิดแบบวิทยาการคำนวณว่า เป็นปัจจัยสำคัญของการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาสู่การเป็น “นักพัฒนาซอฟต์แวร์” (Software Developer) อาชีพที่มีบทบาทสำคัญในโลกยุคดิจิทัลซึ่งขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และเป็นหนึ่งในเป้าหมายสำคัญของการบ่มเพาะบัณฑิตของคณะฯ เพื่อให้ตอบโจทย์โลกในศตวรรษที่ 21

               ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) นั้น ไม่สำคัญเพียงการมีความรอบรู้ทางคอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) แต่จะต้องมีความสามารถในการคิดและการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย โดยสามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกด้านที่ขับเคลื่อนด้วยซอฟต์แวร์ ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของการคิดคำนวณ ไม่ว่าจะเป็นด้านการเงิน การลงทุน เศรษฐกิจ หรือสุขภาพ ฯลฯ

                พลวัตของการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) เริ่มต้นจากการสร้าง “Source Code” หรือการเขียนโปรแกรมที่อิงตามขั้นตอนวิธี (Alogoritm) ที่คิดเอาไว้เพื่อให้ได้ตามผลลัพธ์ที่ต้องการ ก่อนเดินหน้าพัฒนาสู่การใช้งานจริง

             บ่อยครั้งผู้พัฒนาโปรแกรมเลือกที่จะใช้การสร้างโค้ดโคลน “Code Clone” หรือการคัดลอกชุดคำสั่งที่เขียนไว้แล้วจากแหล่งข้อมูลโค้ดขนาดใหญ่ เช่น เว็บไซต์ Stack Overflow หรือ GitHub มาใช้ในซอฟต์แวร์ที่ตนพัฒนา เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่วางแผนไว้ แต่ต้องพบกับความเสียหายในภายหลัง เมื่อที่เลือกนำมาใช้นั้นมีลิขสิทธิ์ และมีใบอนุญาต (License) ที่ไม่ตรงกับซอฟต์แวร์ที่ตนพัฒนา หรือมาพร้อมกับปัญหาต่างๆ เช่น บั๊ก หรือปัญหาด้านความปลอดภัย

              จากปัญหาอุปสรรคดังกล่าว อาจารย์ ดร.ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล จึงได้ริเริ่มวิจัย เรื่อง “การตรวจวัดความเหมือนของโค้ดและการค้นหาโค้ดโคลนในข้อมูลโค้ดขนาดใหญ่” (Code Similarity and Clone Search in Large-Scale Source Code Data) ตั้งแต่เมื่อครั้งยังศึกษาในระดับปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London) สหราชอาณาจักร ด้วยทุนพัฒนาอาจารย์ของคณะ ICT และของมหาวิทยาลัยมหิดล

               โดย อาจารย์ ดร.ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล ประสบผลสำเร็จจากการสร้างสรรค์และพัฒนาเครื่องมือตรวจสอบการนำโค้ดข้อมูลมาใช้ซ้ำจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการนำเครื่องมือมาใช้เพื่อศึกษา Code Clone ที่อาจทำให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ หรือมีปัญหาความปลอดภัยได้ เครื่องมือดังกล่าวสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดเพื่อช่วยเหลือนักพัฒนาในระหว่างการพัฒนาโปรแกรมได้

              จากความโดดเด่นของผลงานการวิจัยที่มากด้วยคุณค่าทางวิทยาการคำนวณ ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไปในวงกว้าง ส่งผลให้ในเวลาต่อมา อาจารย์ ดร.ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล สามารถคว้ารางวัลการวิจัยแห่งชาติ รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีมาก สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2564 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ อาทิ “Empirical Software Engineering” ถึง 2 เรื่อง และ “Transactions on Software Engineering” อีก 1 เรื่อง ไปได้อย่างภาคภูมิ

              หากสนใจงานศึกษาวิจัยของอาจารย์สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซต์กลุ่มวิจัยวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ของคณะ ICT ที่ https://www.muict-seru.org

               ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นภาษาที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ขอเพียงไม่ละความเพียรพยายามที่จะใฝ่หาความรู้อยู่ตลอดเวลา เชื่อว่าจะสามารถทำให้ทุกเส้นทางชีวิตของเยาวชนคนรุ่นใหม่ ดำเนินไปโดยมีเป้าหมาย จากการเลือกได้อย่างถูกทิศทาง

               “นักพัฒนาซอฟต์แวร์” (Software Developer) แม้จะไม่ใช่อาชีพที่เกิดจากพรสวรรค์ที่มีมาตั้งแต่กำเนิด ด้วยทักษะแห่งความรอบรู้ ความสามารถในการคิดที่เป็นระบบ และรอบคอบนี้ ไม่ว่าจะเจอปัญหาใดๆ เชื่อว่าจะสามารถแก้ไขจนบรรลุเป้าหมาย ให้โลกได้มีสิ่งใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ทุกความต้องการให้ได้มากที่สุดในที่สุด

ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรมยางพาราผงสู่ผลิตภัณฑ์ผ้าเบรกรถยนต์ มีประสิทธิภาพรับแรงเสียดทานและลดอัตราการสึกหรอ

Next Post

ม.มหิดล ค้นพบทางออกวิกฤติแร่หินฟอสฟอรัสใกล้หมดโลก วิจัยแปรรูปกากตะกอนสิ่งปฏิกูลจากโรงบำบัดสิ่งปฏิกูลและขยะเศษอาหารใช้ทำปุ๋ยทดแทน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน Thailand Tech Show 2022
Technology

สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน Thailand Tech Show 2022

8 months ago
14
สุดยอดนวัตกรรมจรวดความเร็วเสียง “CURSR-1”  จากทีมนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้าอันดับสองรางวัลประกวดจรวดโลก
Technology

สุดยอดนวัตกรรมจรวดความเร็วเสียง “CURSR-1” จากทีมนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้าอันดับสองรางวัลประกวดจรวดโลก

9 months ago
6
มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI
Technology

มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI

11 months ago
42
เนคเทค-สวทช. เปิดตัว “Open-D” แพลตฟอร์มสาธารณะใหม่ “ด้านข้อมูลเปิด”
Technology

เนคเทค-สวทช. เปิดตัว “Open-D” แพลตฟอร์มสาธารณะใหม่ “ด้านข้อมูลเปิด”

2 years ago
181
Load More
Next Post
ม.มหิดล ค้นพบทางออกวิกฤติแร่หินฟอสฟอรัสใกล้หมดโลก วิจัยแปรรูปกากตะกอนสิ่งปฏิกูลจากโรงบำบัดสิ่งปฏิกูลและขยะเศษอาหารใช้ทำปุ๋ยทดแทน

ม.มหิดล ค้นพบทางออกวิกฤติแร่หินฟอสฟอรัสใกล้หมดโลก วิจัยแปรรูปกากตะกอนสิ่งปฏิกูลจากโรงบำบัดสิ่งปฏิกูลและขยะเศษอาหารใช้ทำปุ๋ยทดแทน

สุดยอดนวัตกรรมจรวดความเร็วเสียง “CURSR-1”  จากทีมนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้าอันดับสองรางวัลประกวดจรวดโลก

สุดยอดนวัตกรรมจรวดความเร็วเสียง “CURSR-1” จากทีมนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้าอันดับสองรางวัลประกวดจรวดโลก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.