mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรมตรวจเชื้อโรคในอาหาร ผลิตภัณฑ์คุมน้ำหนักโปรตีนจากพืชและโปรไบโอติก

นวัตกรรมตรวจเชื้อโรคในอาหาร ผลิตภัณฑ์คุมน้ำหนักโปรตีนจากพืชและโปรไบโอติก

0

             บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ในฐานะเอกชนผู้ผลิตอาหารรายใหญ่ของประเทศได้โชว์ผลงานนวัตกรรมตรวจเชื้อโรคในอาหาร ผลิตภัณฑ์คุมน้ำหนักโปรตีนจากพืชและโปรไบโอติก

              ดร.สุดารัตน์ เล็ดลอด ผู้จัดการฝ่ายวิจัยอาหาร บริษัท ศูนย์พัฒนาและวิจัยอาหาร ซีพีเอฟ จำกัด เปิดเผยว่า ทีมงานได้พัฒนากระบวนการเพื่อความยั่งยืนทางอาหารตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ โดยในส่วนต้นน้ำได้สร้างฐานข้อมูลเชื้อโรคในอาหาร เพื่อนำมาสร้าง DNA บาร์โค้ดที่จำเพาะกับโรค หากพบว่ามีการปนเปื้อน จะหาวิธีเพื่อกำจัดที่จำเพาะต่อเชื้อ (disinfectant and bioactive compound) สำหรับฐานข้อมูลที่เก็บไว้เป็นวงศ์เชื้อโรคหลักที่พบบ่อยในอาหาร โดยมีการศึกษาสายพันธุ์แยกย่อยทั้งหมด ไปถึงรุ่นลูกหลาน เช่น เชื้อซาลโมเนลล่า (Salmonella) วิบริโอ (Vibrio) และลิสทีเรีย (Listeria) เป็นต้น ซึ่งทั้ง 3 สายพันธุ์นี้เป็นเชื้อก่อโรคร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ ถ้าพบในสินค้า นอกจากเสี่ยงจะมีผลต่อชีวิตร้ายแรง แล้วยังทำให้มีความเสี่ยงถูกเรียกคืนสินค้า และ ถูกขึ้นแบล็กลิสต์ได้หากเป็นสินค้าส่งออก ถือเป็นเชื้อที่มีผลทางกฎหมายและมีผลต่อธุรกิจการค้า เชื้อ ” 3ตัวหลักนี้เป็นเชื้อก่อให้โรคที่พบในผลิตภัณฑ์พวกสัตว์ปีก สัตว์ทะเล และ ผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป ซึ่งครอบคลุมทั้งหมด กับฐานข้อมูลหลักที่เรามีปัญหาอยู่ บริษัทเราทำอาหาร เชื้อโรค 3 สายพันธุ์นี้มีประเด็นมากมาย แค่จัดการกับ 3 สายพันธุ์นี้ ก็ถือว่าช่วยลดผลกระทบได้อย่างมากแล้ว”

              ทั้งนี้ในการวิจัย ได้พัฒนาสิ่งที่ใช้ในกระบวนการตรวจสอบหาเชื้อ รวมไปถึง อาหารส่งเสริมการเจริญเติบโตของเชื้อในอาหาร และชุดตรวจแบบพกพาได้สะดวก ใช้งานง่ายและให้ผลอย่างรวดเร็ว โดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันชุดทดสอบ หรือ Test Kit อยู่ในขั้นทดสอบนำใช้ในหน้างานจริงใช้ภายในองค์กร คาดว่าจะให้ผู้บริโภคนำไปใช้เพื่อสร้างความมั่นใจในอาหาร โดยมีการทำงานเหมือนชุดตรวจ ATK ที่ใช้ตรวจหาเชื้อโรคโควิด-19 วิธีใช้เพียงนำเชื้อหยดในชุดทดสอบ ซึ่งให้ผลอย่างรวดเร็วในราคาไม่แพง โดยรู้ผลภายใน 24 ชั่วโมง จากเดิมต้องตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ ใช้เวลาประมาณ 3-7วัน นอกจากนี้การตรวจในห้องปฏิบัติการสนนราคาค่าใช้จ่ายประมาณ 200-1,500 บาท

             “การพัฒนาชุดตรวจนี้ใช้หลักการเดียวกันกับชุดตรวจเชื้อโควิด-19 ถ้าเราไม่รู้ว่าเชื้อมีการกลายพันธุ์เป็นอะไร เราจะไม่สามารถจัดการวัคซีนมาต่อต้านได้ เช่นเดียวกัน ถ้าเรารู้จักเชื้อก่อโรคในอาหารมากเท่าไหร่ เราจะสามารถควบคุมหรือฆ่าได้ตั้งแต่ต้น รู้ว่าตรงไหนเป็นจุดเสี่ยง เป็นการนำฐานข้อมูลมาใช้ต่อเพื่อดูว่า เชื้อตัวนี้ตอบสนองกับการฆ่าแบบไหน การควบคุมแบบไหนและสร้างวิธีจัดการ รวมถึงสร้างวิธีตรวจสอบเพื่อให้เจอเชื้อได้ง่าย ขณะนี้ทำถึงขั้นที่ 2 ถ้าถึงขั้นที่3 ผู้บริโภคและร้านค้าปลีกจะสามารถที่จะทวนสอบย้อนกลับได้ว่าเชื้อมาจากที่ใด ชุดตรวจที่พัฒนานี้หากนำออกขายเชิงพาณิชย์จะมีราคาประมาณ 200 บาท ซึ่งจะช่วยตอบสนองเรื่องความมั่นคงทางอาหารได้ นอกจากนี้การวิจัยครั้งนี้ยังทำให้ได้องค์ความรู้ที่นำมาใช้หน้างานได้จริง ไม่ใช่เป็นงานวิจัยแล้วขึ้นหิ้ง ซึ่งจะพยายามลดต้นทุน คาดว่าจะสามารถนำออกสู่เชิงพาณิชย์ได้ภายใน 2 ปี”

                 โมเดลการศึกษาวิจัยนี้ อาจเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานเอกชนอื่น ๆ หรือหน่วยงานภาครัฐเพื่อช่วยควบคุมเชื้อก่อโรคอันตรายในอาหาร สร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับสังคมไทยได้ นอกจากนี้ภายในบูทซีพีเอฟ ยังโชว์ผลิตภัณฑ์ควบคุมโภชนาการจากโปรไบโอนิกและล่าสุดเป็นโปรตีนจากพืช ที่ช่วยให้ร่างกายได้สารอาหารวิตามิน อาหาร เกลือแร่ ครบถ้วนจากสูตรอาหารเข้มข้น ค่อย ๆ ปล่อยพลังงานออกมาทำให้ไม่รู้สึกหิว ใช้รับประทานแทนอาหารประจำวัน 1 มื้อ ช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการรับประทานจุกจิก ตอบโจทย์ผู้ต้องการคุมน้ำหนัก ในราคาจับต้องได้

ShareTweetShare
Previous Post

นาโนเทคพัฒนา “ระบบนำส่งสารสำคัญของน้ำมันงาขี้ม้อนด้วยนวัตกรรมนาโน” จับมือเอกชนต่อยอดอาหารเสริมชนิดบรรจุแคปซูลนิ่ม

Next Post

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องกำจัดขยะอินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้ง สู้วิกฤติ COVID-19 และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

7 months ago
56
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

7 months ago
30
จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

7 months ago
42
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

7 months ago
62
Load More
Next Post
ม.มหิดล พัฒนาเครื่องกำจัดขยะอินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้ง สู้วิกฤติ COVID-19 และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องกำจัดขยะอินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้ง สู้วิกฤติ COVID-19 และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

สุดยอดนวัตกรรมจาก ม.รังสิต เครื่องวัดระดับน้ำตาลชนิดพกพาแบบไม่ต้องเจาะเลือด

สุดยอดนวัตกรรมจาก ม.รังสิต เครื่องวัดระดับน้ำตาลชนิดพกพาแบบไม่ต้องเจาะเลือด

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    80 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
160

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
56

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
29

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
30
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.