mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.มหิดล ช่วยลดอุบัติภัย ออกแบบแผงกั้นลดแรงเฉื่อยในถังรถบรรทุกน้ำมันด้วยพลศาสตร์ของไหล

ม.มหิดล ช่วยลดอุบัติภัย ออกแบบแผงกั้นลดแรงเฉื่อยในถังรถบรรทุกน้ำมันด้วยพลศาสตร์ของไหล

0

             เป็นธรรมดาของผู้ใช้รถใช้ถนนหลายราย ในเวลาที่ต้องร่วมทางกับรถบรรทุกน้ำมันขนาดมหึมาด้วยแล้ว อาจเกิดความรู้สึกไม่มั่นใจในความปลอดภัย เนื่องจากข่าวอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง จนต้องพยายามหลีกเลี่ยงไปขับในเส้นทางอื่น และยังมีบางรายที่ไม่ทราบว่า ภายในถังรถบรรทุกน้ำมันขนาดประมาณ 80,000 ลิตรที่เราเห็นกันโดยทั่วไปบนท้องถนนนั้น ประกอบด้วยแผงกั้นซึ่งได้มีการออกแบบให้แต่ละแผ่นมีรูตรงกลางขนาดใหญ่ติดตั้งไว้เรียงรายภายในถัง เพื่อคอยทำหน้าที่ลดแรงเฉื่อยไม่ให้รถบรรทุกน้ำมันเกิดเหตุพลิกคว่ำ ตามหลักการของ “พลศาสตร์ของไหล” ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานนวัตกรรมคุณภาพออกแบบโดยอาจารย์นักวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล และผู้ประพันธ์ตำรา E-Book ในชื่อเดียวกัน ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทางแอปพลิเคชัน MU PRESS

             รองศาสตราจารย์ ดร.ชาคริต สุวรรณจำรัส อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ประพันธ์ตำรา MU PRESS E-Book “พลศาสตร์ของไหล” เจ้าของผลงานนวัตกรรมการออกแบบแผงกั้น (Buffle) เพื่อลดแรงเฉื่อยในถังรถบรรทุกน้ำมัน และอีกหลากหลายผลงานคุณภาพ ด้วยหลักการ “พลศาสตร์ของไหล” ได้อธิบายถึงคำจำกัดความของ “ของไหล” ว่าไม่จำเป็นต้องเป็นน้ำและอากาศ แต่ได้แก่สสารซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ตามแรงที่ถูกกระทำ โดยขึ้นอยู่กับ “ความดัน” และ “ความเร็ว” เป็นสำคัญ

              เมื่อรถเบรก แต่ของเหลวไม่ได้เบรกตาม ซึ่งมักเป็นเหตุให้รถบรรทุกน้ำมันขนาดใหญ่ต้องสูญเสียการควบคุม จนอาจพลิกคว่ำเกิดอุบัติเหตุที่ไม่คาดฝัน ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สิน ตลอดจนส่งผลกระทบต่อบริเวณโดยรอบจากเหตุอัคคีภัยได้

              ซึ่งการใช้แผงกั้น (Buffle) ภายในถังรถบรรทุกน้ำมันจะช่วย “จัดระเบียบการไหล” เพื่อให้เวลาเกิดแรงเฉื่อย หรือแรงกระเพื่อมจากการเลี้ยวหรือหยุดรถ น้ำมันที่อยู่ภายในถังจะได้ไหลผ่านลอดรูของแผ่นกั้นที่อยู่เรียงรายภายในถัง ซึ่งจะทำให้แรงเฉื่อย หรือแรงกระเพื่อมของน้ำมันที่อยู่ภายในถังเกิดขึ้นได้น้อยลง

               จริงๆ แล้วความรู้ความเข้าใจใน “พลศาสตร์ของไหล” ไม่ได้จำกัดเฉพาะผู้ที่เป็น “ช่าง” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชาคริต สุวรรณจำรัส ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า “ช่าง” ด้วยว่า คือ ผู้ที่มีความชำนาญในงาน หรือศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งจำเป็นต้องมีการศึกษาใฝ่หาความรู้อยู่ตลอดเวลาและสม่ำเสมอ เพื่อให้มีทักษะที่ดี สามารถพึ่งพาตัวเอง พร้อมทั้งเป็นที่พึ่งให้กับผู้อื่นได้

              เพื่อการมีชีวิตอยู่รอดปลอดภัยด้วยปัญญาในโลกยุคปัจจุบัน จึงไม่ควรประมาท และพึงหมั่นศึกษาหาความรู้ และทักษะที่หลากหลายเพิ่มเติมอยู่เสมอ หากเราไม่จำกัดความรู้ให้อยู่แค่ในชั้นเรียน เราก็จะสามารถเรียนรู้ และต่อยอดสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ต่อไปได้อย่างไร้ขีดจำกัด

              นอกจาก ตำรา E-Book “พลศาสตร์ของไหล” แล้ว ยังมีเรื่องน่ารู้อื่นๆ ที่ควรค่าแก่การดาวน์โหลดไว้เพื่อศึกษาหาความรู้และฝึกทักษะด้วยตัวเองได้ทุกที่ทุกเวลาเช่นกันอีกมากมาย ได้ทางแอปพลิเคชัน MU PRESS ทั้งในระบบ Android และ iOS

               ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

หุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ ช่วยแพทย์ตรวจโควิด ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค

Next Post

เครื่องผลิตกรดไฮโปคลอรัสสำหรับฆ่าเชื้อโรคแบบใช้ในบ้าน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

1 week ago
98
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

5 months ago
21
i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

5 months ago
7
Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร

5 months ago
18
Load More
Next Post
เครื่องผลิตกรดไฮโปคลอรัสสำหรับฆ่าเชื้อโรคแบบใช้ในบ้าน

เครื่องผลิตกรดไฮโปคลอรัสสำหรับฆ่าเชื้อโรคแบบใช้ในบ้าน

ม.สวนดุสิตผุด “หอมขจรฟาร์ม” แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ เพิ่มรายได้เกษตรกร

ม.สวนดุสิตผุด “หอมขจรฟาร์ม” แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ เพิ่มรายได้เกษตรกร

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
98

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.