mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
หุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ ช่วยแพทย์ตรวจโควิด ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค

หุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ ช่วยแพทย์ตรวจโควิด ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค

0

               สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) โดย กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กปว.) ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)  ร่วมกับ สถาบันไทย – เยอรมัน (TGI) ศูนย์พันธุศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และ บริษัท พี ที ดับบลิว เทคโนโลยี จำกัด ได้จัดงานแถลงข่าวความสำเร็จในการดำเนินการพัฒนาสร้างหุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ (Robots for pipette) ซึ่งเป็นผลงานที่พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ณ บริษัท พี ที ดับบลิว เทคโนโลยี อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

              นางวนิดา บุญนาคค้า ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กปว.) กล่าวว่า ผลสำเร็จของการพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ ภายใต้โครงการสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า ที่ได้พัฒนาขึ้นเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับนำไปใช้ในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์สำหรับการตรวจหาเชื้อ COVID-19 เป็นการช่วยลดความเสี่ยงให้กับบุคคลากรทางการแพทย์ และยังสามารถประยุกต์ใช้กับกระบวนการด้านอื่นๆ ในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ได้อีกด้วย อีกทั้งยังตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาล Thailand 4.0 ที่มีการประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ในทางการแพทย์ และสามารถพัฒนาไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ลดการนำเข้าเครื่องจักรจากต่างประเทศ ส่งเสริมเพิ่มขีดความสามารถในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และยังลดการใช้แรงงานและความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรคต่างๆ  ซึ่งเป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่วงการแพทย์ได้เห็นความสำคัญของการนำเทคโนโลยี อุปกรณ์ เครื่องจักรกลต่างๆ มามาประยุกต์ใช้ร่วมกัน ซึ่งจะช่วยเพิ่มมาตรฐาน ลดค่าใช้จ่าย ลดเวลารวมถึงสร้างความปลอดภัยให้กับบุคคลากรทางการแพทย์มากยิ่งขึ้น

              คุณสมชาย จักรกรีนทร์ ผู้อำนวยการสถาบันไทย – เยอรมัน กล่าวว่า สถาบันไทย – เยอรมัน เป็นหน่วยงานเครื่อข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม มีหน้าที่หลักคือ ช่วยพัฒนาและยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันของผู้ประกอบการภาคเอกชนไทย ตามนโยบายรัฐบาล Thailand 4.0 ได้มีแนวคิดในการพัฒนาเครื่องจักรสำหรับใช้งานทางการแพทย์ เพื่อสร้างความปลอดภัยให้กับบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 จึงได้ร่วมกับ บริษัท พี ที ดับบลิว เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเป็นผู้ประกอบการภาคเอกชน ที่มีความสนใจ มุ่งมั่น และมีความพร้อม ร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลต้นแบบ เพื่อให้เกิดการใช้งานได้จริงเชิงพาณิชย์ จึงเกิดเป็นการพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ขึ้นจนประสบความสำเร็จ ด้วยการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ในฐานะหน่วยงานผู้ให้ทุนผ่านโครงการสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า โดยมีศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เป็นหน่วยงานบริหารจัดการโครงการ การพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับมอบให้ศูนย์พันธุศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ได้ใช้ประโยชน์ หุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์จะมาช่วยในขั้นตอนการเปิดหลอดตัวอย่างส่งตรวจ COVID-19 และแบ่งตัวอย่างลงในหลอดทดลอง 2 หลอด หรือมากกว่านั้นตามความต้องการ เพื่อนำไปตรวจวิเคราะห์ และแยกเก็บไว้ทวนสอบ หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ซึ่งการนำหุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์มาใช้งานในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์มีประโยชน์ในหลายๆ ด้าน ดังนี้

  •  ด้านบุคลากร : สามารถลดบุคลากรจาก 3 คน เหลือเพียง 1 คน ในการ operate หุ่นยนต์แทนการใช้แรงงานคน

  • ด้านความปลอดภัย : บุคลากรเพียงแต่วางหลอดที่ยังไม่เปิดฝา ไว้บน rack จากนั้นแขนกลจะดำเนินการเปิดหลอดและแบ่งตัวอย่างตามที่โปรแกรมไว้ ทำให้ความเสี่ยงในการติดเชื้อลดลง

  • ด้านกระบวนการ : สามารถวางหลอดตัวอย่างในปริมาณมากพร้อมๆ กัน ได้ โดยหุ่นยนต์สามารถเปิดและแบ่งตัวอย่างทีละตัวอย่างได้ โดยไม่เกิดความผิดพลาด สามารถทวนสอบได้ มีความรวดเร็ว

  • ด้านเวลา : ลดระยะเวลาในการเตรียมและแบ่งตัวอย่างได้ จากเดิมใช้เวลาในการเตรียมตัวอย่างๆ ละประมาณ 5 นาที เหลือไม่เกิน 1 นาที และสามารถทำงานต่อเนื่องได้ 24 ชั่วโมง รวมทั้งสามารถเพิ่มหุ่นยนต์เพื่อทำงานเป็น parallel ในกรณีที่มีตัวอย่างมาเป็นจำนวนมาก

  • ด้านค่าใช้จ่าย : ลดค่าใช้จ่าย เช่น อุปกรณ์ PPE ของเจ้าหน้าที่ 3 คน เหลือเพียง 1 คน เนื่องจาก หากมีการส่งตัวอย่าง ไม่สม่ำเสมอ บุคลากรก็จะต้องเปลี่ยนชุด PPE ทุกครั้งที่ต้องจัดการตัวอย่าง ซึ่งทำให้เกิดความสิ้นเปลือง

             เมื่อสถานการณ์ COVID-19 ปกติยังสามารถจะนำหุ่นยนต์เพื่อการปิเปตต์ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น

  • ขั้นตอน sample pre-processing ของการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ทุกชนิด

  • การเตรียมยาที่เป็นอันตราย เช่น ยาเคมีบำบัด เป็นต้น

  • การตรวจวิเคราะห์อาหาร การตรวจคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ตัวอย่างน้ำ ดิน เป็นต้น

  • การเตรียมสารผสม จากสารตั้งต้นต่างๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม ที่ต้องการความปลอดภัย และความแม่นยำสูง

                ทั้งนี้ หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เบอร์โทร 0 2333 3924/ 0 2333 3949/ 0 2333 3956 หรือ e-mail : machine@mhesi.go.th 

ShareTweetShare
Previous Post

“เครื่องขุดหลุมนิวบอร์น” นวัตกรรมเจาะดิน ฝีมือเกษตรกรสวนกล้วย

Next Post

ม.มหิดล ช่วยลดอุบัติภัย ออกแบบแผงกั้นลดแรงเฉื่อยในถังรถบรรทุกน้ำมันด้วยพลศาสตร์ของไหล

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

7 months ago
42
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

7 months ago
26
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

7 months ago
101
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

7 months ago
56
Load More
Next Post
ม.มหิดล ช่วยลดอุบัติภัย ออกแบบแผงกั้นลดแรงเฉื่อยในถังรถบรรทุกน้ำมันด้วยพลศาสตร์ของไหล

ม.มหิดล ช่วยลดอุบัติภัย ออกแบบแผงกั้นลดแรงเฉื่อยในถังรถบรรทุกน้ำมันด้วยพลศาสตร์ของไหล

เครื่องผลิตกรดไฮโปคลอรัสสำหรับฆ่าเชื้อโรคแบบใช้ในบ้าน

เครื่องผลิตกรดไฮโปคลอรัสสำหรับฆ่าเชื้อโรคแบบใช้ในบ้าน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    80 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
160

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
56

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
29

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
30
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.