mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
Z-Touch Gen 2.0 นวัตกรรมแผ่นฆ่าเชื้อโควิดติดหลังมือถือ

Z-Touch Gen 2.0 นวัตกรรมแผ่นฆ่าเชื้อโควิดติดหลังมือถือ

0

              ลีฟคลีน เทคโนโลยี บริษัทสตาร์ทอัพสัญชาติไทยผู้พัฒนาแผ่นฆ่าเชื้อโควิด-19 เปิดตัวสินค้าใหม่ ซีทัช เจน 2.0 (Z-TOUCH GEN2.0) แผ่นฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรียติดหลังมือถือ พร้อมรุกส่งออกมากกว่า 20 ประเทศทั่วโลก ล่าสุดพบช่องเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์พัฒนาเป็นสื่อทางการตลาดและสื่อโฆษณารูปแบบใหม่ ส่งผลรายได้รวมปีแรกเข้าเป้า 300 ล้านบาท

                 นายวิษณุ จินตนาศิริกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ลีฟคลีน เทคโนโลยี จำกัด ผู้นำด้านนวัตกรรมการฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย กล่าวถึง ความสำเร็จของผลิตภัณฑ์ ซีทัช (Z-Touch) แผ่นฆ่าเชื้อโควิด-19 ติดหลังมือถือและจุดสัมผัสร่วม ซึ่งได้ส่งลงสู่ตลาดตั้งแต่ช่วงต้นปีที่ผ่านมาว่า ผลิตภัณฑ์ซีทัชได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ทุกคนต่างต้องหาเครื่องมือรวมถึงอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ซึ่ง ลีฟคลีน เทคโนโลยี ในฐานะสตาร์ทอัพคนไทย ซึ่งเป็นผู้พัฒนานวัตกรรมและผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ซีทัช รู้สึกภูมิใจเป็นอย่างยิ่งในการเป็นผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์ป้องกันการแพร่ระบาดและลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อโควิด-19 จากการสัมผัส โดยมุ่งเน้นช่วยคนไทยเป็นเป้าหมายหลัก โดยเฉพาะภาคส่วนแพทย์ พยาบาล รวมถึงบุคลากรด่านหน้า ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงก่อนเป็นลำดับแรก

                 โดยการพัฒนาและต่อยอดผลิตภัณฑ์นั้น ล่าสุดทางบริษัทฯ ได้มีการส่งผลิตภัณฑ์แผ่นฆ่าเชื้อติดตั้งหลังมือถือ ซีทัช เจน 2.0 (Z-TOUCH GEN2.0) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ลงสู่ตลาด โดยคุณสมบัติผลิตภัณฑ์นอกจากมีการรับรองผลในการฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย รวมถึงฆ่าเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ จากหลายสถาบันชั้นนำ อาทิ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) ประเทศสหรัฐอเมริกา, CE-Mark ประเทศยุโรป, SIAA ประเทศญี่ปุ่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แล้ว ยังมีการเพิ่มจำนวนของ ไมโครพอรัสเลเยอร์ (Micro-Porous Layer) ซึ่งได้จดสิทธิบัตรนวัตกรรมเป็นเจ้าแรกของโลก ทำหน้าที่เหมือนหลุมดำที่จะดูดเชื้อลงสู่พื้นผิวชั้นล่างและกำจัดโดยทันทีทำให้พื้นผิวของแผ่นซีทัชสะอาดตลอดเวลา ช่วยลดการส่งต่อของเชื้อได้ในระยะเวลาเพียง 2 วินาที มีอายุการใช้งานนาน 90 วัน โดยวางจำหน่ายอยู่ที่ราคาเพียง 199 บาท ทำให้ผลิตภัณฑ์แผ่นฆ่าเชื้อติดตั้งหลังมือถือ ซีทัช เจน 2.0 เป็นที่นิยมและเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก

              นอกจากนี้ ด้วยคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ซีทัช เจน 2.0 ที่พื้นผิวสามารถออกแบบและพิมพ์ลวดลายได้อย่างสวยงาม ทำให้หลายองค์กรและแบรนด์สินค้ามองว่าสามารถใช้คุณสมบัติดังกล่าวในการพัฒนาเป็นเครื่องมือทางการตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์รูปแบบใหม่ได้ ทั้งยังสามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ของพรีเมียม กิ๊ฟเซ็ต ที่ออกแบบลวดลาย ภาพ โลโก้ หรือตามความต้องการขององค์กรและแบรนด์สินค้า เพื่อมอบหรือจำหน่ายให้แก่ลูกค้าได้ โดยลูกค้าสามารถเห็นแบรนด์ขององค์กรหรือสินค้าติดที่หลังมือถือผู้ใช้งานได้ตลอดเวลา

             ยิ่งไปกว่านั้น ทางบริษัทฯ ยังได้มีการเตรียมนำผลิตภัณฑ์แผ่นฆ่าเชื้อติดตั้งหลังมือถือ ซีทัช เจน 2.0 คอลลาบอเรชั่น (collaboration) สร้างความร่วมมือระหว่างแบรนด์สินค้ากับศิลปินมีชื่อเสียงระดับโลกในหลายประเทศ อาทิ สวีเดน เกาหลีใต้ อเมริกา ฯลฯ เพื่อผลิตเป็นสินค้ารุ่นพิเศษมอบและจำหน่ายกับแฟนคลับ และเป็นสื่อกลางในการส่งต่อความปลอดภัยจากชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) สู่ชีวิตวิถีถัดไป (Next Normal) ที่มุ่งเน้นเรื่องความปลอดภัยและสุขอนามัยเป็นสำคัญ

             ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ ซีทัช มีนวัตกรรมฆ่าเชื้อทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ แผ่นฆ่าเชื้อติดมือถือ แผ่นฆ่าเชื้อติดบริเวณจุดสัมผัสร่วม (ประตู,ลูกบิด,ลิฟท์) และแผ่นฆ่าเชื้อติดตั้งในแอร์และเครื่องฟอกอากาศ โดยกลุ่มลูกค้าหลักเป็นกลุ่มลูกค้าองค์กร 60% อาทิ ท่าอากาศยานสนามบินสุวรรณภูมิ กระทรวงพลังงาน คิงเพาเวอร์ โรงไฟฟ้า กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี และโรงพยาบาลในประเทศไทยมากกว่า 30 แห่ง ทั้งโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ โรงพยาบาลพระมงกุฏ โรงพยาบาลสมิติเวช ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการติดตั้งผลิตภัณฑ์แผ่นฆ่าเชื้อซีทัชบริเวณจุดสัมผัสร่วมในบริเวณสวิสไฟ ที่จับประตู ปุ่มกดอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อลดการส่งต่อของเชื้อ รวมถึงจัดทำเป็นแผ่นฆ่าเชื้อในแบบขององค์กรสำหรับแจกพนักงาน หรือใช้ในการดำเนินกิจกรรมทางการตลาดและกิจกรรมเพื่อสังคม ส่วนอีก 40% เป็นลูกค้ากลุ่มประชาชนทั่วไปที่นิยมใช้ผลิตภัณฑ์ซีทัชแบบแผ่นฆ่าเชื้อติดหลังโทรศัพท์มือถือ

              ส่วนการส่งออกต่างประเทศนั้น ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ซีทัชมีการจัดจำหน่ายแล้วมากกว่า 20 ประเทศทั่วโลก โดยเริ่มจากหลายประเทศในทวีปเอเชีย อาทิ ฟิลิปปินส์, กัมพูชา, เวียดนาม, ลาว ฯลฯ รวมถึงมีตัวแทนจำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา และล่าสุดได้มีการแต่งตั้งเซ็นต์สัญญากับตัวแทนภาคพื้นยุโรป เพื่อส่งผลิตภัณฑ์ซีทัชเข้าไปจำหน่ายในตลาดฝั่งยุโรปมากขึ้น ทำให้คาดว่ารายได้ในปีแรกที่วางไว้ 300 ล้านบาท และเติบโตได้มากกว่า 700% จะเป็นไปตามเป้าหมายอย่างแน่นอน

              สำหรับผู้สนใจสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ซีทัช (Z-TOUCH) หรือติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.ztouchbrand.com Facebook : Ztouchofficial หรือโทร 065 717 5816

ShareTweetShare
Previous Post

“เจลลี่สับปะรด โพรไบโอติกส์” เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพผู้สูงวัย เพิ่มมูลค่าให้สับปะรด

Next Post

วรุณา” สร้างฐานข้อมูลด้วย AI ปั้น “บางกระเจ้า” ต้นแบบฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
80
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
วรุณา” สร้างฐานข้อมูลด้วย AI ปั้น “บางกระเจ้า” ต้นแบบฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

วรุณา” สร้างฐานข้อมูลด้วย AI ปั้น “บางกระเจ้า” ต้นแบบฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

“DAYWORK” แอปฯจัดหางานพาร์ทไทม์ คว้าสุดยอดนวัตกรรม 7 Innovation Awards ด้านสังคม

“DAYWORK” แอปฯจัดหางานพาร์ทไทม์ คว้าสุดยอดนวัตกรรม 7 Innovation Awards ด้านสังคม

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
98

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.