mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ไบโอเทค สวทช. พัฒนา “ต้นแบบวัคซีนป้องกันโรคระบาดในสุกร” 2 โรคในเข็มเดียว

ไบโอเทค สวทช. พัฒนา “ต้นแบบวัคซีนป้องกันโรคระบาดในสุกร” 2 โรคในเข็มเดียว

0

             โรคติดเชื้อไวรัสนิปาห์ (Nipah) เป็นโรคร้ายแรงที่สามารถติดได้ทั้งในสัตว์และคน ในกรณีสัตว์เศรษฐกิจอย่างสุกร หากติดเชื้อจะมีอาการไข้สมองอักเสบรุนแรงและอาจตายในเวลาอันสั้น ส่วนคนที่สัมผัสใกล้ชิดกับสุกรป่วยมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อไวรัสนิปาห์ ทำให้มีอาการไข้สมองอักเสบซึ่งอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้เช่นกัน ที่ผ่านมา ในปี 2541-2542 มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสนิปาห์ครั้งรุนแรงที่สุดในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ ขณะนั้นมีจำนวนผู้ป่วยสูงถึงเกือบ 300 ราย และมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ทำให้ต้องมีการสั่งฆ่าสุกรเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อมากกว่า 1.2 ล้านตัว หรือคิดเป็นร้อยละ 50 ของสุกรทั่วประเทศมาเลเซีย

             แม้ในตอนนี้จะยังไม่พบการอุบัติซ้ำที่รุนแรง แต่หากไม่มีการเฝ้าระวังและเตรียมการป้องกันโรคไว้ล่วงหน้า เมื่อเกิดเหตุขึ้นอีกครั้งก็อาจสร้างความเสียหายได้ไม่น้อยกว่าเหตุการณ์ที่เคยเผชิญกันมาแล้ว กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วิจัยพัฒนา “วัคซีนต้นแบบสำหรับป้องกันการติดเชื้อไวรัสนิปาห์และไวรัสพีอาร์อาร์เอส (PRRS) ในสุกร” ที่คาดหวังว่าจะสามารถป้องกันโรคอันตรายได้ถึง 2 ชนิด ในวัคซีนเข็มเดียว

             ดร.นันท์ชญา วรรณเสน นักวิจัยจากทีมวิจัยไวรัสวิทยาและเซลล์เทคโนโลยี กลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ไบโอเทค สวทช. กล่าวถึงการพัฒนาวัคซีนว่า ปัจจุบันยังไม่มีการใช้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสนิปาห์ทั้งสำหรับคนและสัตว์ในประเทศไทย เนื่องจากเป็นโรคที่ไม่ได้มีการอุบัติขึ้นบ่อยครั้ง อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีการพัฒนาวัคซีนเป็นเรื่องที่ต้องเตรียมการล่วงหน้าเพื่อให้สามารถรับมือการระบาดได้อย่างทันท่วงทีและลดการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น ดังนั้นแล้วทีมวิจัยจึงได้คิดค้นการพัฒนาวัคซีนต้นแบบที่สามารถเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคนิปาห์รวมเข้ากับวัคซีนป้องกันโรคที่มีการฉีดอย่างแพร่หลายให้กับสุกรอยู่แล้ว คือ วัคซีนป้องกันโรค PRRS เพื่อให้ใน 1 เข็ม ที่เกษตรกรลงทุนค่าวัคซีน สามารถป้องกันโรคติดเชื้อที่เป็นอันตรายแก่สุกรได้ถึง 2 โรค

 ดร.นันท์ชญา วรรณเสน

             “โครงการวิจัยนี้คณะวิจัยไบโอเทคได้ใช้ความเชี่ยวชาญในการตัดต่อพันธุกรรมไวรัส PRRS และได้วางแผนร่วมกับ Prof. Simon Graham และ Dr. Rebecca McLean จาก The Pirbright Institute (TPI) สหราชอาณาจักร ในการทดสอบคุณสมบัติของไวรัส PRRS ในการใช้เป็นเวกเตอร์ไวรัส (Viral vector) นำส่งโปรตีนของไวรัสนิปาห์เข้าไปในร่างกายสุกร เพื่อให้สุกรที่ได้รับการฉีดวัคซีนชนิดนี้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคทั้ง 2

               ในการทำวิจัยครั้งนี้ไบโอเทคได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก The Transnational Access Activities (TNA) : Veterinary Biocontained Facility Network (VetBioNet) มูลค่า 61,350 ปอนด์ (2,504,000 บาท) โดยเป็นการสนับสนุนการทดสอบวัคซีนในห้องปฏิบัติการวิจัย High containment laboratory ซึ่งใช้สำหรับการวิจัยและทดลองเกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคร้ายแรงและสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ที่ Animal and Plant Health Agency, UK รวมถึงให้การสนับสนุนการเข้าถึงเทคโนโลยีและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง”

             ดร.นันท์ชญา เสริมว่า ตอนนี้ทีมวิจัยได้พัฒนาวัคซีนต้นแบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่ในขั้นตอนของการทดสอบเรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการติดโรคทั้ง 2 ในสุกรที่ประเทศอังกฤษ คาดว่าน่าจะรู้ผลภายในปีนี้ หากผลออกมาดีก็จะเข้าสู่ขั้นตอนของการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป โดยวัคซีนชนิดนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการป้องกันโรคสุกรในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการระบาด โดยเฉพาะประเทศเขตร้อนซึ่งรวมถึงประเทศไทย

ที่มา : nstda

ShareTweetShare
Previous Post

มทร.ธัญบุรี พัฒนา “การจัดการคลังสินค้าต้นแบบ” เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนในการจัดการคลังสินค้า

Next Post

ทรู เฮลท์ ปล่อยฟังก์ชันสุดล้ำ “เทเลเมดิเคลม” พบหมอออนไลน์-รับยาที่บ้าน-เคลมประกันได้

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

4 months ago
24
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

4 months ago
16
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

4 months ago
8
Load More
Next Post
ทรู เฮลท์ ปล่อยฟังก์ชันสุดล้ำ “เทเลเมดิเคลม” พบหมอออนไลน์-รับยาที่บ้าน-เคลมประกันได้

ทรู เฮลท์ ปล่อยฟังก์ชันสุดล้ำ “เทเลเมดิเคลม” พบหมอออนไลน์-รับยาที่บ้าน-เคลมประกันได้

“โรงไฟฟ้ายืดหยุ่น – โรงไฟฟ้าดิจิทัล” รองรับพลังงานหมุนเวียนในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด

“โรงไฟฟ้ายืดหยุ่น – โรงไฟฟ้าดิจิทัล” รองรับพลังงานหมุนเวียนในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.