mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“โรงไฟฟ้ายืดหยุ่น – โรงไฟฟ้าดิจิทัล” รองรับพลังงานหมุนเวียนในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด

“โรงไฟฟ้ายืดหยุ่น – โรงไฟฟ้าดิจิทัล” รองรับพลังงานหมุนเวียนในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด

0

              แม้ประเทศไทยกำลังเร่งสปีดเปลี่ยนผ่านพลังงานของประเทศสู่พลังงานสะอาด เพื่อตอบโจทย์ปัญหาภาวะโลกร้อนและเท่าทันกับรูปแบบความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนไป แต่ก็จำเป็นต้องดำเนินการอย่างมีสติ รอบด้าน และคำนึงถึงประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าทุกกลุ่ม เพราะประเทศเรายังมีความจําเป็นต้องพึ่งพา ‘โรงไฟฟ้าหลัก’ เพื่อดูแลความมั่นคงระบบไฟฟ้าของประเทศในช่วงที่ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนได้

              การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้พัฒนาโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นสู่การเป็น โรงไฟฟ้ายืดหยุ่น (Flexible Power Plant) และ โรงไฟฟ้าดิจิทัล (Digital Power Plant) เพื่อรองรับพลังงานหมุนเวียนที่จะเข้าสู่ระบบเพิ่มมากขึ้นในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด

โรงไฟฟ้ายืดหยุ่นเสริมแกร่งระบบไฟฟ้า

            การเพิ่มขึ้นของพลังงานหมุนเวียนทำให้โรงไฟฟ้าหลักมีความจำเป็นต้องเดินเครื่องในอัตราต่ำเพื่อช่วยเหลือระบบ หากการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนหายไปอย่างกะทันหัน โรงไฟฟ้าของ กฟผ. จึงต้องรับบทบาทในส่วนนี้ เพราะการเดินเครื่องในอัตราที่ต่ำจะต้องใช้เชื้อเพลิงมากกว่าปกติทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น

            กฟผ. ได้นำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาปรับปรุงโรงไฟฟ้าวังน้อยชุดที่ 4 จ.พระนครศรีอยุธยา ให้เป็นโรงไฟฟ้ายืดหยุ่นที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถตอบสนองต่อการเดินเครื่องได้ไว เช่น จากเดิมต้องใช้เวลาสำหรับเริ่มเดินเครื่องผลิตไฟฟ้า 4 ชั่วโมง ลดเวลาเหลือเพียง 2 ชั่วโมง สามารถเดินเครื่องในอัตราต่ำที่สุดได้ดีกว่าเดิม จาก 450 เมกะวัตต์ เป็น 300 เมกะวัตต์ หรือเพิ่มกำลังผลิตไฟฟ้าได้รวดเร็วยิ่งขึ้นจาก 15 เมกะวัตต์ต่อนาที เป็น 50 เมกะวัตต์ต่อนาที

               หากในอนาคตเมื่อพลังงานหมุนเวียนเข้ามาในระบบมากขึ้นก็จำเป็นต้องมีโรงไฟฟ้ายืดหยุ่นที่สามารถเดินเครื่องเพื่อช่วยเหลือระบบในลักษณะนี้เพิ่มตามไปด้วย ซึ่ง กฟผ. มีแผนปรับปรุงโรงไฟฟ้าอื่น ๆ ให้เป็นโรงไฟฟ้ายืดหยุ่นเพิ่มเติม ได้แก่ โรงไฟฟ้าบางปะกง โรงไฟฟ้าพระนครใต้

โรงไฟฟ้าวังน้อยชุดที่ 4

            นอกจากนี้ กฟผ. ยังตั้งเป้าพัฒนาโรงไฟฟ้าของ กฟผ. สู่การเป็นโรงไฟฟ้าดิจิทัล ซึ่งถือเป็นโรงไฟฟ้าที่มีกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูง มีความแม่นยำ ถูกต้อง และรวดเร็ว ควบคุมสั่งการผ่านระบบดิจิทัลที่สามารถวิเคราะห์และประมวลผลการทำงานแบบอัตโนมัติ ทำให้โรงไฟฟ้ามีศักยภาพและมีความพร้อมจ่ายสูง ได้แก่

  • ระบบ PMAS (Predictive Maintenance Analytics System) เป็นระบบที่สามารถคาดการณ์ความขัดข้องเสียหายของเครื่องจักรและแจ้งเตือนล่วงหน้าแบบอัตโนมัติ เพื่อให้ตัดสินใจวางแผนงานบำรุงรักษาได้อย่างเหมาะสม

  • ระบบ PMDS (Performance Monitoring and Loss Diagnostic System) เป็นระบบวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับติดตามสมรรถนะของอุปกรณ์ภายในโรงไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดเวลา ช่วยลดผลกระทบความสูญเสียจากการเดินเครื่องผลิตไฟฟ้า

  • ทั้งนี้ กฟผ. ได้นำร่องระบบดังกล่าวเข้ามาใช้ในโรงไฟฟ้าต่าง ๆ อาทิ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1, 2 โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 โรงไฟฟ้าพระนครใต้ชุดที่ 3-4

โรงไฟฟ้าดิจิทัลก้าวล้ำด้วยเทคโนโลยีอันชาญฉลาด

              การพัฒนาโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ไม่เพียงมุ่งเน้นการปรับปรุงโรงไฟฟ้าให้มีความทันสมัย ประสิทธิภาพสูง รองรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เท่านั้น หากแต่ยังมีเป้าหมายสำคัญคือการดูแลระบบไฟฟ้าของประเทศให้เปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดได้อย่างราบรื่น โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้ไฟฟ้าและการแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนอย่างยั่งยืน

ShareTweetShare
Previous Post

ทรู เฮลท์ ปล่อยฟังก์ชันสุดล้ำ “เทเลเมดิเคลม” พบหมอออนไลน์-รับยาที่บ้าน-เคลมประกันได้

Next Post

แปลงเวลาว่างเป็นรายได้กับ “Wang” แพลตฟอร์มเพื่อการพัฒนา AI โดยนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
37
น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า
นวัตกรรมด้านพลังงาน

น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า

4 months ago
27
นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”

5 months ago
22
Load More
Next Post
แปลงเวลาว่างเป็นรายได้กับ “Wang” แพลตฟอร์มเพื่อการพัฒนา AI โดยนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ

แปลงเวลาว่างเป็นรายได้กับ “Wang” แพลตฟอร์มเพื่อการพัฒนา AI โดยนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ

จุฬาฯ วิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลและกรดอะมิโนในก้านทุเรียน เล็งพัฒนาเซ็นเซอร์ตรวจวัดทุเรียนสุก

จุฬาฯ วิเคราะห์ปริมาณน้ำตาลและกรดอะมิโนในก้านทุเรียน เล็งพัฒนาเซ็นเซอร์ตรวจวัดทุเรียนสุก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.