mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
วว. ร่วมกับบ.ไทยฟู้ดส์ฯ วิจัยการสกัดโปรตีนเข้มข้นจากพืชฐานชีวภาพสำเร็จ

วว. ร่วมกับบ.ไทยฟู้ดส์ฯ วิจัยการสกัดโปรตีนเข้มข้นจากพืชฐานชีวภาพสำเร็จ

0

            กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ประสบผลสำเร็จวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดโปรตีนเข้มข้นจากพืชฐานชีวภาพของไทยระดับห้องปฏิบัติการ ระบุพร้อมต่อยอด/ขยายการวิจัย มุ่งสู่การผลิตเป็นอาหารฟังก์ชั่นระดับกึ่งอุตสาหกรรมในอนาคต

            ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวว่า ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมอาหารสุขภาพ วว. ประสบผลสำเร็จระดับห้องปฏิบัติการในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดโปรตีนเข้มข้น และ/หรือโปรตีนโซเลทจากพืช โดยใช้วิธีการทางเคมีให้ได้ผงโปรตีนเข้มข้นและ/หรือผงโปรตีนไอโซเลทเบื้องต้น เพื่อนำมาทดสอบคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพต่างๆ ประกอบด้วย ปริมาณผลผลิต องค์ประกอบทางเคมี การพองตัวและการละลาย สารก่อภูมิแพ้ และค่าสี เป็นต้น ซึ่งผลการทดลองอยู่ในระดับเป็นที่น่าพอใจ สำหรับการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป วว. จะทำการเลือกสภาวะการสกัดโปรตีนในระดับห้องปฏิบัติการที่ดีที่สุด สำหรับนำไปใช้ในการผลิตระดับกึ่งอุตสาหกรรมเบื้องต้น เพื่อดูแนวโน้มปริมาณผลผลิตและการปรับกระบวนการผลิตให้เหมาะสม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการผลิตจริงสำหรับผู้ประกอบการต่อไป

              ผู้ว่าการ วว. กล่าวถึงที่มาของผลสำเร็จดังกล่าวว่า วว. และบริษัท ไทยฟู้ดส์ฯ หรือ TFG ร่วมดำเนินงานภายใต้ “โครงการวิจัยและพัฒนาด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์โปรตีนจากพืชฐานชีวภาพของไทย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์โปรตีนจากพืชฐานชีวภาพ สำหรับผลิตเป็นอาหารฟังก์ชั่นสู่เชิงพาณิชย์ (Plant Based Meat ) ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ใช้สำหรับเป็นส่วนผสมของอาหาร (Functional food Ingredients) ที่ไม่มีสารก่อภูมิแพ้ เป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นเนื้อสัตว์เทียม รวมถึงผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชั่น ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโครงการฯ จะผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติต่างๆ ทดสอบคุณค่าทางโภชนาการ รวมถึงผ่านการทดสอบความปลอดภัย และการทดสอบประสิทธิภาพ ตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ก่อนที่จะวางจำหน่ายในตลาดทั้งในและต่างประเทศ

             “…ความร่วมมือของ วว. ซึ่งเป็นภาครัฐ และบริษัท ไทยฟู้ดส์ฯ ที่เป็นภาคเอกชนนั้น จะก่อให้เกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก สร้างรายได้ สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่พี่น้องประชาชน รวมทั้งสร้างเศรษฐกิจที่เข้มแข็งตามนโยบาย BCG Model ของรัฐบาล ที่มุ่งบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง เข้ามาช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์ของประเทศ เพื่อสร้างคุณค่า (Value Creation) จากฐานความหลากหลายของทรัพยากรชีวภาพและวัฒนธรรมของประเทศ อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งจะช่วยเพิ่มแหล่งอาหารที่ดี มีคุณภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับผู้บริโภค…” ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต กล่าวตอนท้าย

ShareTweetShare
Previous Post

นศ.วิศวะ มข. ใช้ AI สร้าง“เครื่องคัดแยกพลาสม่า”เครื่องแรกของโลก

Next Post

มจพ. สร้างนวัตกรรม “หุ่นยนต์ไอพ่นละอองฝอย(ULV)” ฆ่าเชื้อไวรัส

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

7 months ago
56
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

7 months ago
30
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

7 months ago
62
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

7 months ago
81
Load More
Next Post
มจพ. สร้างนวัตกรรม “หุ่นยนต์ไอพ่นละอองฝอย(ULV)” ฆ่าเชื้อไวรัส

มจพ. สร้างนวัตกรรม "หุ่นยนต์ไอพ่นละอองฝอย(ULV)" ฆ่าเชื้อไวรัส

อินเตอร์ ฟาร์มา ร่วมกับ มอ. วิจัย “สารสกัดจากกระท่อม” สู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

อินเตอร์ ฟาร์มา ร่วมกับ มอ. วิจัย “สารสกัดจากกระท่อม” สู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    80 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
160

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
56

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
29

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
30
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.