mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center

นวัตกรรมด้านพลังงาน

เอสซีจี และทีทีซีแอล จับมือ มทส. ติดตั้งโรงไฟฟ้าลอยน้ำจากพลังงานแสงอาทิตย์

            เอสซีจี และทีทีซีแอล จับมือ มทส. ติดตั้งโรงไฟฟ้าลอยน้ำจากพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อใช้ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พร้อมประกาศความร่วมมือด้านการวิจัย และพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ขับเคลื่อนพลังงานสะอาดอย่างยั่งยืน ช่วยลดวิกฤติโลกร้อน เอสซีจี ทีทีซีแอล...

Read more

นักวิจัยไทยพัฒนา “แบตเตอรี่สังกะสีไอออน” ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ (NSD) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม พัฒนา “แบตเตอรี่สังกะสีไอออน” แบตเตอรี่ทางเลือกใหม่ ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม            ...

Read more

มหิดล เพิ่มพื้นที่สีเขียว-สร้างพลังงานสะอาด

นับวันโลกมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งส่งผลกระทบที่ชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ จนองค์การสหประชาชาติ (WHO) ถือเป็นภาวะเร่งด่วนที่กำหนดให้เป็น 1 ใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ซึ่งการคืนความเขียวให้กับโลก คือ กุญแจสำคัญของการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว และจะทำให้โลกสามารถบรรลุ “Net...

Read more

มหิดล เริ่มใช้ Solar Cell Rooftop ที่สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์

             ม.มหิดล ริเริ่มใช้ Solar Cell Rooftop ที่ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์รพ.รามาธิบดี หวังลดค่าใช้จ่าย และนำมาพัฒนาระบบให้บริการผู้ป่วย...

Read more

กรีน เยลโล่ เปิดตัวโครงการโซลาร์ลอยน้ำแห่งแรกในไทย

บริษัท กรีน เยลโล่ (ไทยแลนด์) จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ กรีน เยลโล่ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Efficiency) ประกาศเปิดตัวโครงการโซลาร์ลอยน้ำ (Floating Solar) แห่งแรกของ กรีน...

Read more

ม.มหิดล วิจัยและพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ “เพอรอฟสไคต์” สำหรับใช้ในอาคาร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศกร กาญจนบุษย์ อาจารย์ประจำกลุ่มสาขาวิชาวัสดุศาสตร์และนวัตกรรมวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คว้าทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 27 พ.ศ.2563 มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จากผลงานวิจัย เรื่อง “เทคโนโลยีเพอรอฟสไคต์สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับใช้ในอาคาร” ซึ่งการสร้างองค์ความรู้สู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมจากเพอรอฟสไคต์ (Perovskite) ซึ่งเป็นสารกึ่งตัวนำชนิดพิเศษที่นำมาดัดแปลงเพื่อให้สามารถใช้กับพื้นที่ที่มีแสงน้อย หรือภายในอาคาร ทำงานโดยเมื่อมีแสงในอาคารมากระทบแล้วจะทำให้เกิดการแตกตัวของประจุไฟฟ้าตามหลักการของทำงานของเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar...

Read more

นวัตกรรมกรองน้ำดื่มด้วย ‘UF’ เพื่อบริหารจัดการน้ำอุปโภคบริโภค

นวัตกรรมเพิ่มคุณภาพชีวิตใน “โครงการจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ” เป็น 1 ในผลงานวิจัยของ สวทช. และพันธมิตร เพื่อบริหารจัดการน้ำอุปโภคบริโภคให้แก่โรงเรียน ตชด. และชุมชนชายขอบ จังหวัดอุดรธานี เป็นการผสานพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับระบบกรองน้ำดื่มที่ใช้พลังงานต่ำอย่างเทคโนโลยีการกรองด้วย 'อัลตร้าฟิวเตรชั่น' ช่วยให้คนในพื้นที่เข้าถึงน้ำอุปโภคบริโภคที่สะอาด...

Read more

นวัตกรรมแปลง ‘หน้ากากอนามัยใช้แล้ว’ เป็น ‘พลังงานไฟฟ้า’

ปัจจุบันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้ปริมาณขยะติดเชื้อทางการแพทย์ เช่น หน้ากากอนามัยใช้แล้ว เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ซึ่งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วปนเปื้อนด้วยเสมหะ น้ำลาย น้ำมูกของบุคคลผู้ใช้ และอาจยังปนเปื้อนเชื้อโรคจากบุคคลที่ป่วย หรือผู้เป็นพาหะนำโรคได้ ถ้าหากไม่มีการกำจัดขยะติดเชื้อเหล่านี้อย่างถูกวิธีอาจทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพประชาชนและสร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมได้ รศ.ดร.นัฐพร ไชยญาติ อาจารย์ประจำวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีแนวคิดต้องการแก้ปัญหาปริมาณขยะติดเชื้อทางการแพทย์...

Read more

เครื่องชงกาแฟด้วยแรงดันสูงจากอากาศและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)

จากนวัตกรรมเครื่องชงกาแฟด้วยแรงดันคาร์บอนไดออกไซด์ จะเป็นการเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจการขายเครื่องดื่ม ชา, กาแฟ จากเดิมที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ทั้งยังต้องเสียสมดุลย์ การค้าระหว่างประเทศด้วย ซึ่งผลที่จะเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นมีดังต่อไปนี้ 1. ทําให้ผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพขายเครื่องดื่ม ชา กาแฟ ไม่ต้องลงทุนสูง แต่สามารถขายเครื่องดื่มที่มีความหลากหลายกว่าเดิม เปิดโอกาสให้ผู้มีรายได้น้อยในการประกอบธุรกิจขายเครื่องดื่ม ชา,...

Read more

นาโนซิลิกอนจากแกลบ

นาโนซิลิกอน จากแกลบ มาผ่านกระบวนการรีฟลักซ์ด้วยกรด ผลงานนวัตกรรมจากภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “นาโนซิลิกอน” สำหรับใช้เป็นขั้วไฟฟ้าในแบตเตอรีชนิดลิเทียมไอออน ของภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยนำแกลบมาผ่านกระบวนการรีฟลักซ์ด้วยกรดนำไปเผาเพื่อให้ได้ผงนาโนซิลิกอน นำไปผลิตเป็นขั้วไฟฟ้าแอโนดในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ไฟฟ้า สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้สูงกว่าวัสดุแกรไฟต์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันสูงถึง 12 เท่า...

Read more
Page 4 of 6 1 3 4 5 6