mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มหิดล เริ่มใช้ Solar Cell Rooftop ที่สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์

มหิดล เริ่มใช้ Solar Cell Rooftop ที่สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์

0

             ม.มหิดล ริเริ่มใช้ Solar Cell Rooftop ที่ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์รพ.รามาธิบดี หวังลดค่าใช้จ่าย และนำมาพัฒนาระบบให้บริการผู้ป่วย

             ไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงพยาบาล ซึ่งมีการใช้ไฟฟ้าจำนวนมากสำหรับเครื่องมือในการตรวจวินิจฉัย และอุปกรณ์ช่วยชีวิตทางการแพทย์ ซึ่งหากไฟดับ หรือไฟสำรองไม่เพียงพออาจหมายถึงการต้องสูญเสียชีวิต นอกจากนี้ยังมีการใช้ไฟฟ้าจากระบบปรับอากาศ และระบบสารสนเทศทางการแพทย์ ซึ่งเป็นเหตุให้มีค่าใช้จ่ายจำนวนมาก 

             ด้วยความตระหนักและใส่ใจในคุณภาพการให้บริการและประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ ในฐานะของโรงพยาบาลรัฐ ซึ่งให้บริการโดยไม่ได้มุ่งผลกำไร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภายใต้การบริหารโดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา คณบดีฯ ได้ริเริ่มนำระบบการติดตั้งเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Cell Rooftop) มานำร่องใช้ที่สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ซึ่งตั้งอยู่ ณ ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ด้วยความร่วมมือจากภาคเอกชนที่ผ่านการประมูล ซึ่งครอบคลุมทั้งการเป็นฝ่ายลงทุน ติดตั้ง และดูแลอย่างครบวงจร โดยจะทำให้คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าใช้เองได้ที่ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ซึ่งมีทั้งส่วนที่เป็นโรงพยาบาลที่รักษาผู้ป่วยในเขตจังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดชายฝั่งตะวันออกของประเทศไทย และส่วนที่เป็นโรงเรียนแพทย์ ซึ่งมีทั้งอาคารเรียนและวิจัยทางการแพทย์ โดยจะสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้ถึงร้อยละ 37 ในระยะแรก และเมื่อครบสัญญาภายในอีก 15 ปีข้างหน้า จะได้ใช้ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแสงอาทิตย์โดยไม่มีค่าใช้จ่าย

            ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิบายว่า Solar Cell Rooftop ที่จะนำมานำร่องใช้ที่ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ นั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรกใช้ติดตั้งบนอาคาร ซึ่งจะเป็นการรับพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาไปเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ทำให้ผู้ที่อยู่ภายในอาคารได้รับความเย็นจากเครื่องปรับอากาศดีขึ้นโดยใช้พลังงานไฟฟ้าลดลง และอีกส่วนจะนำมาติดตั้งบนทางเดิน (Walk Way) ที่เชื่อมระหว่างอาคาร ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง และคุ้มค่าต่อการใช้งาน ซึ่งจะลงทุนก่อสร้าง ติดตั้ง และดูแลอย่างครบวงจรโดยภาคเอกชนที่ผ่านการประมูล และพร้อมจะส่งมอบแก่ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อบริหารจัดการเองในอีก 15 ปีข้างหน้า

            อย่างไรก็ตาม โครงการ Solar Cell Rooftop ดังกล่าวยังคงไม่สามารถรองรับปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าทั้งหมดของ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ได้ 100% คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้มีการวางแผนใช้พื้นที่ที่อยู่ไม่ไกลจาก สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ติดตั้ง Solar Farm หรือโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ ซึ่งจะรองรับการใช้กระแสไฟฟ้าของโครงการที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุของ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่กำลังดำเนินการต่อไปอีกด้วย

            ศาสตราจารย์ นายแพทย์รณชัย คงสกนธ์ รองคณบดีฝ่ายการคลังและพัสดุ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวเสริมว่า โครงการ Solar Cell Rooftop โดยแนวคิดของ คณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จะแล้วเสร็จและทำให้ประชาชนที่มาใช้บริการรักษาพยาบาลที่ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ได้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นพลังงานสะอาด ทำให้เป็น Green Campus พร้อมภูมิทัศน์ที่สวยงามปลายปี 2564

            โดยการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ นอกจากจะเป็นการช่วยลดภาวะโลกร้อน และมีส่วนส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยมหิดลยังคงเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอันดับ 1 ของประเทศไทย และพัฒนาสู่อันดับโลกที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องแล้ว ที่สำคัญจะเป็นการทำให้คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถให้บริการประชาชนด้วยต้นทุนที่ต่ำลง ซึ่งจะส่งผลให้สามารถนำไปพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีขึ้นสำหรับประชาชนได้ต่อไปอีกด้วย

  ติดตามข่าวที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

Share1Tweet1Share
Previous Post

กรีน เยลโล่ เปิดตัวโครงการโซลาร์ลอยน้ำแห่งแรกในไทย

Next Post

มก. เปิดตัว เมืองนวัตกรรมอาหารส่วนขยาย ยกระดับผลิตภัณฑ์นวัตกรรมแข่งขันในตลาดโลก

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

7 months ago
84
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

8 months ago
55
น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า
นวัตกรรมด้านพลังงาน

น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า

8 months ago
41
นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”

8 months ago
61
Load More
Next Post
มก. เปิดตัว เมืองนวัตกรรมอาหารส่วนขยาย ยกระดับผลิตภัณฑ์นวัตกรรมแข่งขันในตลาดโลก

มก. เปิดตัว เมืองนวัตกรรมอาหารส่วนขยาย ยกระดับผลิตภัณฑ์นวัตกรรมแข่งขันในตลาดโลก

นาโนเทคร่วมมือหอการค้า จ.ะยอง ดัน ‘นวัตกรรมฟื้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยว’ สร้างความเชื่อมั่นยุคโควิด-19

นาโนเทคร่วมมือหอการค้า จ.ะยอง ดัน ‘นวัตกรรมฟื้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยว’ สร้างความเชื่อมั่นยุคโควิด-19

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    81 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
163

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
57

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
30

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
32
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.