mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.มหิดล – St. Mary’s University สหรัฐอเมริกา วิจัยฝึกใช้ขาเทียมทางไกล

ม.มหิดล – St. Mary’s University สหรัฐอเมริกา วิจัยฝึกใช้ขาเทียมทางไกล

0

          ผู้ที่ประสบกับสถานการณ์การสูญเสียอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนไหว (ขาขาด) นอกจากจะส่งผลต่อสภาวะจิตใจ การปรับตัวเข้ากับสังคมแล้ว ยังมีข้อจำกัดในการทำกิจกรรม ที่เผชิญกับปัญหาด้านการเคลื่อนไหว และการทรงตัว

          อาจารย์ ดร.มนัญชยา สามาลา อาจารย์ประจำโรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของผู้พิการขาขาดที่มาเข้ารับบริการขาเทียม ณ โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนใหญ่กว่าจะสามารถใช้ขาเทียมในการเคลื่อนไหวได้ใกล้เคียงปกติ ต้องใช้เวลาในการฝึกใช้ขาเทียมถึง 3 เดือน

          ซึ่งขั้นตอนการเข้ารับบริการขาเทียมโดยทั่วไป เริ่มต้นจากการให้ผู้พิการขาขาดเข้ารับการตรวจประเมินโดยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู และนักกายอุปกรณ์ เพื่อจัดทำแบบขาเทียม วางแผนการรักษาเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนใส่ขาเทียม และวางแผนการฝึกใช้ขาเทียม โดยผู้พิการจะต้องเดินทางมาทำกายภาพบำบัดฝึกใช้ขาเทียมกับนักกายภาพบำบัดประจำโรงพยาบาลถึง 2 – 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นระยะเวลา 3 เดือน จนสามารถใช้ขาเทียมได้อย่างคล่องแคล่ว ซึ่งพบว่าเป็นอุปสรรคอย่างยิ่งทั้งในการเดินทางมาโรงพยาบาล การจัดหาผู้ดูแล และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ

          เพื่อเป็นการลดอุปสรรคในการฟื้นฟูและการฝึกใช้ขาเทียม จึงเกิดความร่วมมือเพื่อออกแบบการฟื้นฟูการเดินแบบฝึกที่บ้านด้วยการสร้างจินตภาพ (Motor Imagery (MI)) ร่วมกับการสังเกตการเคลื่อนไหว (Action Observation (AO))

          โดยเป็นโครงการวิจัยร่วมระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล โดย อาจารย์ ดร.มนัญชยา สามาลา นางสาวจุติมา รัตนคช นางสาววิศวภรณ์ เนียมแสง จาก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และ รองศาสตราจารย์ ดร.วีรวัฒน์ ลิ้มรุ่งเรืองรัตน์ อาจารย์ ดร.กิตติชัย ทวารวดีพิมุข อาจารย์ ดร.อัมพิกา นันท์บัญชา จาก วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา และ Assistant Professor Gary Guerra Briseno จาก St. Mary’s University เมืองซาน อันโตนีโอ มลรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา

          โดยเป็นการฟื้นฟูสามารถประยุกต์ใช้กับผู้พิการขาขาดในการฝึกเดินกับขาเทียมที่ได้รับภายใต้การดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญผ่านสื่อออนไลน์ อาทิ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และ Zoom หลังการส่งมอบอุปกรณ์ขาเทียม พบว่าจะสามารถลดระยะเวลาการเข้ารับบริการการฝึกใช้ขาเทียมกับนักกายภาพบำบัดที่โรงพยาบาลให้เหลือเพียง 1 – 2 ครั้งเท่านั้น

          ด้วยหลักการใช้จินตภาพร่วมกับการสังเกตการเคลื่อนไหวและการทำกายภาพบำบัดออนไลน์ จะช่วยให้ผู้พิการขาขาดได้เรียนรู้การเดินที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการช่วยเหลือตัวเองจนสามารถกลับไปใช้ชีวิตที่ใกล้เคียงปกติได้มากที่สุด

          ซึ่งการเดินด้วยขาเทียมจะช่วยให้ผู้พิการเคลื่อนไหวได้สะดวกกว่าการเคลื่อนไหวด้วยรถเข็นนั่ง ที่จะสามารถใช้ได้โดยสะดวกเฉพาะในสภาพพื้นทางเรียบ และกว้างพอเท่านั้น อีกทั้งการเดินโดยใช้ขาเทียมที่เหมาะสมทำให้ผู้พิการใช้พลังงานร่างกายในการควบคุมขาเทียมน้อยลง

          ปัจจุบันโครงการวิจัยฯ อยู่ระหว่างการทดสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวัดท่าเดิน และการประเมินสัญญาณไฟฟ้าสมองที่เกี่ยวข้องกับการฝึกจินตภาพ ร่วมกับการสังเกตการเคลื่อนไหวในเฟสแรก ก่อนจะมีการทดสอบใช้จริงกับผู้พิการขาขาดที่มาเข้ารับบริการที่โรงเรียนกายอุปกรณ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อประเมินผลต่อไป

          แม้สิ่งที่ขาดหายจะไม่มีวันกลับมา แต่สิ่งที่ยังคงอยู่คือพลังใจ ที่จะเป็นพลังนำชีวิตให้ก้าวเดินต่อไป มหาวิทยาลัยมหิดลพร้อมเป็นกำลังใจให้ก้าวข้ามผ่านอุปสรรคความสูญเสีย ทดแทนสิ่งที่ขาดหายด้วยพลังอันยิ่งใหญ่ที่ซ่อนอยู่ภายในตัวเอง

          ติดต่อสอบถามรายละเอียดโครงการวิจัยเพื่อการเตรียมพร้อมก่อนเข้ารับบริการขาเทียมได้ที่ โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 0-2419-3448

ShareTweetShare
Previous Post

2 นวัตกรรม ช่วยบรรเทารักษา “โรคเบาหวาน”

Next Post

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

7 months ago
42
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

7 months ago
26
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

7 months ago
101
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

7 months ago
56
Load More
Next Post
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

นวัตกรรม SCG Active Air Quality สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีจากในบ้าน

นวัตกรรม SCG Active Air Quality สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีจากในบ้าน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    80 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
160

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
56

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
29

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
30
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.