mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
โปรแกรมช่วยลดการถ่ายภาพ รังสีเอกซเรย์ซ้ำ  ประหยัดงบสุขภาพประชาชน

โปรแกรมช่วยลดการถ่ายภาพ รังสีเอกซเรย์ซ้ำ ประหยัดงบสุขภาพประชาชน

0

         ในการตรวจสุขภาพประจำปี บางรายการครอบคลุมการเข้ารับการถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์ เพื่อแสดงผลให้เห็นร่องรอยความผิดปกติของอวัยวะต่างๆ ได้ชัดเจนใช้วิเคราะห์โรคได้รวดเร็ว ถูกต้อง แม้ว่าปริมาณรังสีที่ได้รับจะมีอัตราต่ำ เมื่อเทียบกับการใช้รังสีในการรักษาโรค แต่ผู้รับบริการจะต้องป้องกันและปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล

          นายอิษฏ์ สุบินมงคล นักรังสีการแพทย์ (ผู้ชำนาญการพิเศษ) และในฐานะเป็นอาจารย์พิเศษของภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรนุช เอี่ยมปา และนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 ภาควิชารังสีเทคนิค จำนวน 2 ราย ได้แก่ นายณัฐพนธ์ แตงภู่ และนายสุรยุทธ เกิดสุข แสดงความห่วงใยประชาชนให้ตระหนักถึงปริมาณรังสีที่ควรได้รับในอัตราที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งในระดับประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ด้านรังสี ได้รับการกำหนดโดย คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiological Protection – ICRP) ซึ่งแนะนำให้รับรังสีได้ในปริมาณไม่เกิน 5 millisievert หรือ mSv ต่อปี

          ด้วยตระหนักถึงความเป็น “ปัญญาของแผ่นดิน” ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล อาจารย์อิษฏ์ สุบินมงคล ได้สร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรม “โปรแกรมคำนวณอัตราการถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์ซ้ำ” (Repeat/reject rate calculating program) ขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์ซ้ำ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการได้รับปริมาณรังสีมากเกินไป

          โดยโปรแกรมจะประมวลผลจากชุดข้อมูลที่กำหนด เพื่อลดการถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์ซ้ำที่อาจเสี่ยงต่อการได้รับปริมาณรังสีที่มากเกินไป ซึ่งหากได้ทราบถึงสาเหตุที่แน่ชัดแล้วจะช่วยทำให้การถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์เป็นไปโดยเท่าที่จำเป็นมากขึ้น

          อย่างไรก็ดี สำหรับในส่วนของเจ้าหน้าที่รังสี แม้ ICRP ได้กำหนดปริมาณรังสีที่ควรได้รับในปริมาณที่สูงกว่าประชาชนทั่วไป กล่าวคือให้อยู่ในอัตราที่ไม่เกิน 100 mSv ในรอบ 5 ปี ซึ่งหากมีการป้องกันที่ดี ด้วยการสวมอุปกรณ์หรืออยู่ในบริเวณป้องกันรังสีขณะปฏิบัติหน้าที่ ก็จะช่วยทำให้รับรังสีได้น้อยลง

         ในเบื้องต้นผู้วิจัยได้ทดลองใช้โปรแกรมคำนวณอัตราการถ่ายภาพรังสีเอกซเรย์ซ้ำในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง พบว่าสามารถติดตั้งได้ง่าย ไม่ส่งผลกระทบต่อโปรแกรมอื่นของโรงพยาบาล เพียงดาวน์โหลดในเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ก็จะพร้อมใช้งานได้ทันที เพื่อขยายประโยชน์ให้เกิดขึ้นในวงกว้าง ก้าวต่อไปเตรียมพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันให้สามารถใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้นผ่านโทรศัพท์มือถือ

ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

“SeniaCare” ที่นอนยางพาราป้องกันแผลกดทับ นวัตกรรมใหม่ของผู้ป่วยติดเตียง

Next Post

วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง

2 days ago
7
อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

3 days ago
4
มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด

3 days ago
3
นวัตกรรมตรวจจับแกนไม้ยางพารา จ่อต่อยอดพัฒนาเป็นเครื่องมือรักษาโรคตาเข
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมตรวจจับแกนไม้ยางพารา จ่อต่อยอดพัฒนาเป็นเครื่องมือรักษาโรคตาเข

3 days ago
6
Load More
Next Post
วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

สวทช. เร่งปั้นโมเดล NSTDA Core Business ผลิตนวัตกรรมส่งออกทั้งในและต่างประเทศ

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    52 shares
    Share 21 Tweet 13
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    50 shares
    Share 20 Tweet 13
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    42 shares
    Share 17 Tweet 11
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    39 shares
    Share 16 Tweet 10
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    38 shares
    Share 15 Tweet 10

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

January 27, 2023
4

แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ

January 27, 2023
7

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง

January 27, 2023
7

“แหนแดง” ตัวช่วยลดต้นทุน ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยกระดับการผลิตข้าวเหนียวลุ่มน้ำโขง

January 26, 2023
3

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

January 26, 2023
4
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.