mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สุดยอดงานวิจัยแห่งชาติ ปี 66 “ชุดตรวจวัณโรคแบบอ่านผลด้วยตาเปล่า MTB Strip”

สุดยอดงานวิจัยแห่งชาติ ปี 66 “ชุดตรวจวัณโรคแบบอ่านผลด้วยตาเปล่า MTB Strip”

0

          สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ประกาศรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2566 รางวัลประกาศเกียรติคุณ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้แก่ ผลงานประดิษฐ์คิดค้น เรื่อง ชุดตรวจวัณโรคแบบอ่านผลด้วยตาเปล่า MTB Strip โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ทนพญ. ปาหนัน รัฐวงศ์จิรกุล หัวหน้าโครงการวิจัย และคณะทีมนักวิจัยจากคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยผู้ประดิษฐ์เข้ารับรางวัลและจัดแสดงผลงานในงานวันนักประดิษฐ์ ซึ่งปีนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนากรุงเทพมหานคร

           รองศาสตราจารย์ ดร.ทนพญ. ปาหนัน รัฐวงศ์จิรกุล หัวหน้าโครงการวิจัย กล่าวว่า การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์จึงเกิดขึ้นภายใต้แนวความคิดที่ต้องการชุดตรวจวัณโรคที่สามารถตรวจได้รวดเร็ว เป็นชุดตรวจที่อาศัยหลักการทางอณูชีววิทยาที่มีความไวและความจำเพาะสูง ที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือจำเพาะที่มีราคาแพง และควรเป็นเทคนิคที่ใช้งานง่าย อ่านผลได้ง่ายด้วยตาเปล่าทำให้ผู้ป่วยจำนวนมากสามารถเข้าถึงการวินิจฉัยวัณโรคได้อย่างครอบคลุมและง่ายขึ้น ส่งผลต่อการพิจารณาให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไป อันจะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยวัณโรคได้ จึงเป็นที่มาของสิ่งประดิษฐ์ที่ชื่อว่า “ชุดตรวจวัณโรคแบบอ่านผลด้วยตาเปล่า MTB Strip” ซึ่งสามารถวินิจฉัยวัณโรคได้จากสิ่งส่งตรวจเสมหะของผู้ป่วยโดยตรง มีประสิทธิภาพดีเทียบเท่ากับเทคนิคทางอณูชีววิทยาที่มีในปัจจุบัน โดยมีความไวและความจำเพาะสูง อาศัยหลักการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมภายใต้อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสคงที่ที่ชื่อว่า Multiplex-recombinase polymerase amplification ร่วมกับไพรเมอร์ที่จำเพาะต่อเชื้อ M. tuberculosis ได้แก่ IS1081 และ IS6110 และตรวจสอบผลผลิตสารพันธุกรรมด้วยแถบตรวจ MTB Strip ที่พัฒนาขึ้น ดังนั้นการทดสอบจึงทำได้ง่ายเพราะใช้เพียงกล่องควบคุมอุณหภูมิทั่วไปที่มีอยู่ในห้องปฏิบัติการ

         ในการดำเนินปฏิกิริยา มีต้นทุนในการตรวจวินิจฉัยวัณโรคที่ถูก เนื่องจากไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือจำเพาะ การทดสอบจนถึงอ่านผลมีความรวดเร็ว ใช้ระยะเวลาไม่เกิน 40 นาที และสามารถอ่านผลง่ายได้ทันทีด้วยตาเปล่า นอกจากนี้ยังสามารถเก็บรักษาไว้ได้ที่อุณหภูมิปกติ โดยมีอายุการเก็บรักษา 1 ปี เหมาะสำหรับห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก เพื่อใช้วินิจฉัยวัณโรค ซึ่งจะช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อในประเทศไทยในอนาคต อันจะนำไปสู่นวัตกรรมที่ช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และการวัดผลที่แม่นยำ ด้วย “ชุดตรวจวัณโรคแบบอ่านผลด้วยตาเปล่า MTB Strip”

ShareTweetShare
Previous Post

รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ามูฟมี (MUVMI) กับบริการ 2 ล้านเที่ยวเพื่อคนกรุง

Next Post

“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 weeks ago
10
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

1 month ago
10
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

1 month ago
39
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

1 month ago
14
Load More
Next Post
“โบ๊ทพัฒนา” เปิดบริการ “Drone Delivery” ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ

"โบ๊ทพัฒนา" เปิดบริการ "Drone Delivery" ยกระดับภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    49 shares
    Share 20 Tweet 12
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    44 shares
    Share 18 Tweet 11
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    44 shares
    Share 18 Tweet 11

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
8

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
10

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
15

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
10

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

February 21, 2023
10
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.