mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“AI Chest 4 All” นวัตกรรมการตรวจคัดกรองโรคผ่านภาพเอกซเรย์ทรวงอกด้วย AI

“AI Chest 4 All” นวัตกรรมการตรวจคัดกรองโรคผ่านภาพเอกซเรย์ทรวงอกด้วย AI

0

         โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของโลก ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปประมาณ 17.9 ล้านคนในแต่ละปี และหนึ่งในสามของการเสียชีวิตเกิดขึ้นก่อนวัยอันควรในผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 70 ปี ในแต่ละปีพบผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทยประมาณ 430,000 คน และมีอัตราการเสียชีวิตประมาณปีละ 37,000 ราย โรคหัวใจอาจจะรักษาได้หากตรวจพบตั้งแต่เนิ่น ๆ ดังนั้น ควรปรึกษาแพทย์เพื่อลดความเสี่ยงโรคหัวใจ การวินิจฉัยโรคได้ตั้งแต่ระยะแรกเพื่อรับการรักษาอย่างเหมาะสมช่วยลดอัตราการเสียชีวิต การตรวจโรคโดยการเอกซเรย์ทรวงอก (Chest X-ray) สามารถดูความผิดปกติของหัวใจที่พบได้บ่อย เช่น หัวใจโต ภาวะหัวใจวาย นอกจากการสอบถามประวัติโดยละเอียด การตรวจร่างกายการตรวจเลือด และเอกซเรย์ทรวงอกแล้ว การทดสอบพิเศษทางหัวใจต่างๆจะช่วยในการวินิจฉัย เช่น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การสแกนเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หัวใจ เป็นต้น

         การแพทย์สมัยใหม่ มีลักษณะพิเศษคือมีการสร้างข้อมูลจำนวนมหาศาล ซึ่งรวมถึงรูปแบบการถ่ายภาพเอกซเรย์ที่มีความละเอียดสูง ด้วยจำนวนข้อมูลทางการแพทย์ที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ไม่เคยมีมาก่อน ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์จึงประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมหาศาลเหล่านี้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในขณะเดียวกันก็รับประกันความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ป่วย

          เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) และการประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ ทำให้เกิดความหวังว่าจะสามารถปรับปรุงคุณภาพการให้บริการด้านสุขภาพ โดยเป็นระบบช่วยในการตัดสินใจทางการแพทย์ ช่วยให้การวินิจฉัยและการพยากรณ์โรคมีความแม่นยำมากขึ้น และลดภาระของแพทย์

          นวัตกรรมการตรวจคัดกรองโรคผ่านภาพเอกซเรย์ทรวงอก “AI Chest 4 All” ผลงานจากความร่วมมือของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันทรวงอก โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์อ่านภาพเอกซเรย์อัตโนมัติ เพื่อช่วยเหลืองานด้านการแพทย์ของประเทศไทยในการตรวจคัดกรองโรคผ่านภาพเอกซเรย์ทรวงอก ซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์ระบบนี้ สามารถบอกได้ว่าภาพเอกซเรย์ทรวงอกของผู้ป่วยที่ถ่ายมานั้น มีความผิดปกติหรือไม่ ถ้าผิดปกติก็จะสามารถวิเคราะห์ต่อไปได้ด้วยว่าผู้ป่วยเป็นโรคอะไร

         AI Chest 4 All ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2565 สาขาบริการภาครัฐ ระดับดีเด่น ประเภทขยายผลมาตรฐานการบริการ โดยคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้แก่หน่วยงานของรัฐที่มีผลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการเพื่อประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรมและเป็นที่พึงพอใจ

          รศ.ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า AI Chest 4 All เป็นซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์ ซึ่ง AI จะอยู่ในเซิร์ฟเวอร์ เมื่อเราไปเอกซเรย์ตรวจร่างกายจะได้ภาพถ่ายเอกซเรย์มา ภาพเอกซเรย์นี้จะถูกส่งให้ปัญญาประดิษฐ์ AI Chest 4 All ประมวลผล เมื่อรวมกับเวลาที่ใช้ในการรับและส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต (ความเร็วขึ้นกับผู้ให้บริการ) จะใช้เวลารวมประมาณ 1 วินาที ทั้งนี้เมื่อภาพถ่ายเอกซเรย์ได้รับการประมวลผลเสร็จสิ้น ก็จะส่งผลกลับไปแสดงบนหน้าจอควบคุมเครื่องเอกซเรย์ของโรงพยาบาลนั้น ๆ โดยที่ AI Chest 4 All มีระบบการจัดการคิวทำให้สามารถประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นแต่ละ 1 วินาที AI Chest 4 All ปัจจุบันสามารถรองรับได้หลายร้อยโรงพยาบาลทั่วประเทศไทย ทั้งนี้ยังสามารถขยายการให้บริการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ  

         AI Chest 4 All ถูกพัฒนาขึ้นด้วยคนไทย เพื่อคนไทย ต่างจากซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์ที่พัฒนาและนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งจะระบุอาการของโรคต่าง ๆ ที่อาจไม่ตรงกับความต้องการของแพทย์ผู้ใช้งานในประเทศไทยเท่าที่ควร ทีมผู้พัฒนาจึงได้ปรึกษาหารือร่วมกับทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์เพื่อวิเคราะห์โรคที่เหมาะสำหรับคนไทย โรคที่คนไทยเป็นกันมาก เช่น ความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด ความผิดปกติภายในทรวงอก (Intra-thoracic) วัณโรค มะเร็งปอด ซึ่งรวมถึงการตรวจคัดกรองปอดอักเสบ (Pneumonia) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นอกจากนี้ยังสามารถวิเคราะห์ความผิดปกติภายนอกทรวงอก (Extra-thoracic) เช่น ความผิดปกติของกระดูก เป็นต้น

          ความแม่นยำในการตรวจโรคโดยเฉลี่ยทุกโรคอยู่ประมาณที่ 90 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป ปัจจุบันมีกว่า 200 โรงพยาบาลทั่วประเทศที่นำซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์ AI Chest 4 Al ไปใช้ โรงพยาบาลที่มีคอมพิวเตอร์ และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตก็สามารถใช้ AI Chest 4 All ได้ ยิ่งไปกว่านั้น AI Chest 4 All รองรับการเชื่อมต่อโดยตรงกับระบบ PACS (Picture archiving and communication system) ซึ่งระบบที่ใช้เชื่อมต่อ จัดเก็บ และรับส่งข้อมูลภาพทางการแพทย์แบบดิจิทัล ผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ทำให้ทราบผลได้ทันทีหลังจากถ่ายเอกซเรย์

          AI Chest 4 All ในปัจจุบันสามารถวินิจฉัยโรคหลัก ๆ ได้ เช่น ความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด ความผิดปกติภายในทรวงอก (Intra-thoracic) วัณโรค มะเร็งปอด ส่วนในเฟส 2 จะสามารถวิเคราะห์โรคปอดอักเสบ (Pneumonia) เพิ่ม และแยกโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากปอดอักเสบได้ สามารถระบุรอยโรคให้แม่นยำมากขึ้น

          ก่อนหน้านี้เราใช้เพียง AI ในการระบุว่าตำแหน่งไหนของภาพเอกซ์เรย์ที่น่าจะเป็นโรค การทำงานร่วมกับแพทย์เพื่อช่วยระบุตำแหน่งโรคในขั้นตอนการพัฒนา AI จะยิ่งเพิ่มความแม่นยำขึ้นไปอีก ในอนาคตเราก็มีการขยายผลการวิเคราะห์โรคจากภาพในรูปแบบอื่น ๆ เช่น CT scan เพื่อวิเคราะห์ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางสมอง เช่น stroke ภาวะเส้นเลือดแตกหรือมีเลือดออกในสมอง ซอฟต์แวร์ปัญญาประดิษฐ์ อื่น ๆ เพื่อช่วยแพทย์ในการวินิจฉัย โรคซึมเศร้า (Depression) อัลไซเมอร์ และอีกมากมายที่เรากำลังทำและให้ประชาชนได้ใช้ฟรี ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาวิจัยและการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อรับใช้ประชาชน และหนึ่งในความภาคภูมิใจของธรรมศาสตร์

           ในโลกปัจจุบันที่เทคโนโลยีด้าน AI พัฒนาอย่างก้าวกระโดด ช่วยให้บุคลากรทางแพทย์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม จำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรทางแพทย์จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AI เพื่อให้สามารถใช้และร่วมพัฒนาเทคโนโลยี โอกาสที่จะให้การดูแลรักษาทางการแพทย์เฉพาะบุคคลก็มีมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพของผู้ป่วยโดยรวม.

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรม “หุ่นฝึกฉีดยา” ฝึกทักษะนศ.พยาบาลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มความแม่นยำ และชำนาญ

Next Post

DoCare Protect ตัวช่วยดูแลสุขภาพและความปลอดภัยทำได้ที่บ้านง่ายแค่ปลายนิ้ว

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 weeks ago
10
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

1 month ago
10
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

1 month ago
39
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

1 month ago
14
Load More
Next Post
DoCare Protect ตัวช่วยดูแลสุขภาพและความปลอดภัยทำได้ที่บ้านง่ายแค่ปลายนิ้ว

DoCare Protect ตัวช่วยดูแลสุขภาพและความปลอดภัยทำได้ที่บ้านง่ายแค่ปลายนิ้ว

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    49 shares
    Share 20 Tweet 12
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    44 shares
    Share 18 Tweet 11
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    44 shares
    Share 18 Tweet 11

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
8

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
10

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
15

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
10

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

February 21, 2023
10
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.