mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ทางเลือกใหม่ ตรวจวินิจฉัยไข้เลือดออกด้วยวิธี ELISA ใช้ปัสสาวะของผู้ป่วยแทนเลือด

ทางเลือกใหม่ ตรวจวินิจฉัยไข้เลือดออกด้วยวิธี ELISA ใช้ปัสสาวะของผู้ป่วยแทนเลือด

0

             ในอดีตยังไม่สามารถตรวจหาเชื้อไวรัสเดงกีในผู้ป่วย โดยในเวชปฏิบัติทำได้เพียงการสังเกตรอยโรคเพื่อให้การรักษาตามอาการ ติดตามตรวจปริมาณเกล็ดเลือด และความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง และตรวจยืนยันว่าติดเชื้อไวรัสเดงกีจริง จากการตรวจระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสเดงกี เมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และไข้ลด

              แต่ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่ ทำให้แพทย์สามารถตรวจโรคติดเชื้อต่างๆ จากเลือดด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงอำไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ อาจารย์ประจำภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ค้นพบทางเลือกใหม่ในการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสเดงกี ด้วยวิธี ELISA (Enzyme-linked Immunosorbent assay) ที่ใช้ปัสสาวะของผู้ป่วยแทนเลือด ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว หลังจากที่ได้ทดลองใช้ในผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสเดงกีที่มีอาการรุนแรงน้อย เรียกว่า “ไข้เดงกีในระยะไข้” โดยพบว่าให้ผลแม่นยำร้อยละ 68.4 และผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสเดงกีที่มีอาการรุนแรงมากขึ้น เรียกว่า “ไข้เลือดออกในระยะไข้” โดยพบว่าให้ผลแม่นยำร้อยละ 63.9 ซึ่งสามารถใช้เป็นทางเลือกในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสเดงกี เพื่อหาข้อบ่งชี้ในการติดเชื้อไวรัสเดงกีได้ในเบื้องต้น

             จากวิธีการดังกล่าว แม้จะให้ผลการตรวจที่สามารถนำไปประกอบการวินิจฉัยเบื้องต้น แต่ในรายที่ให้ผลตรวจเป็นลบ ต้องติดตามอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด

              และด้วยข้อจำกัดทางบุคลากรและงบประมาณ จึงทำให้การตรวจด้วยวิธี ELISA ในห้องปฏิบัติการนั้น จำเป็นต้องมีตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ พร้อมกันอย่างน้อยครึ่งหนึ่งของแผงจานหลุม (plate) ซึ่งมีหลุมตัวอย่างทั้งสิ้น 96 หลุม โดยต้องเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจให้ครบก่อนจึงจะตรวจได้ ซึ่งทำให้ต้องเสียเวลารอนานกว่าวิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการแบบแถบกระดาษ (strip) ซึ่งสามารถทราบผลการตรวจได้เฉพาะราย และเร็วขึ้น แต่ให้ผลที่แม่นยำร้อยละ 47.2 – 52.6 ต่ำกว่าวิธี ELISA

              ส่วนการตรวจภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสเดงกี ยังคงเป็นวิธีมาตรฐาน โดยตรวจเลือดรวมจำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรกในระยะไข้ และครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 2 – 4 สัปดาห์ เพื่อเป็นการเปรียบเทียบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสเดงกีว่าเป็นการ “ติดเชื้อปฐมภูมิ” (มีโอกาสติดเชื้อไวรัสเดงกีได้อีก) หรือ “ติดเชื้อทุติยภูมิ” (โอกาสติดเชื้อไวรัสเดงกีอีกมีน้อยมาก)

              ซึ่งความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเดงกีนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามความแตกต่างของสารพันธุกรรมของแต่ละบุคคล ผู้คนที่มาจากต่างเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ จะมีการตอบสนองต่อเชื้อที่แตกต่างกันด้วย

               นอกจากนี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงอำไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ ยังได้แสดงความเป็นห่วงถึงแนวโน้มของการติดเชื้อไวรัสเดงกีของประชากรโลกในยุคปัจจุบันที่เปลี่ยนไป โดยพบว่า แม้ในที่ๆ ยังไม่เคยพบการระบาดของไวรัสเดงกีมาก่อน ก็อาจมีการถ่ายทอดเชื้อไวรัสเดงกีจากผู้เคยเดินทางไปในที่ๆ มีการระบาดของเชื้อไวรัสเดงกี ติดเชื้อไวรัสเดงกีโดยที่ไม่มีอาการแสดงอะไรเลย

                ยุงเป็นพาหะรับเชื้อจากผู้ติดเชื้อ ซึ่งมีระยะฟักตัวในยุงที่รับเชื้อเป็นเวลา 7 วัน ก่อนถ่ายทอดสู่ผู้ที่ไม่เคยติดเชื้อที่ถูกยุงที่มีเชื้อกัด ดังนั้นจึงควรระวังอย่างยิ่งที่จะไม่ให้ถูกยุงกัด

ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

กทม. ชู 3 แนวทาง ยกระดับวิถีชีวิตคุณภาพคนกรุงเทพฯสู่เมืองอัจฉริยะ

Next Post

มทร.พระนคร คิดค้น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากเส้นใยใบอ้อย เพิ่มจากวัสดุเหลือใช้สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
81
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
มทร.พระนคร คิดค้น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากเส้นใยใบอ้อย เพิ่มจากวัสดุเหลือใช้สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น

มทร.พระนคร คิดค้น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากเส้นใยใบอ้อย เพิ่มจากวัสดุเหลือใช้สู่ผลิตภัณฑ์แฟชั่น

เทศบาลนครปฐมนำร่อง “ระบบรับฟังเสียงประชาชน AI” ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ “Smart City”

เทศบาลนครปฐมนำร่อง “ระบบรับฟังเสียงประชาชน AI" ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ "Smart City"

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.