mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
หม้อแปลงไฟฟ้า Low Carbon ช่วยลดคาร์บอน 100 ล้านตัน นวัตกรรมคนไทยทันสมัยที่แรกของโลก

หม้อแปลงไฟฟ้า Low Carbon ช่วยลดคาร์บอน 100 ล้านตัน นวัตกรรมคนไทยทันสมัยที่แรกของโลก

0

             หม้อแปลงไฟฟ้าเจริญชัย วิจัย/พัฒนา หม้อแปลง Low Carbonช่วยผู้ประกอบการลดคาร์บอน 100 ล้านตัน/ปี เป็นนวัตกรรมคนไทยทันสมัยที่แรกของโลก ที่มีอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าชาญฉลาด/ทันสมัย เสมือนปลูกป่าในเมือง 105,263,158 ไร่ ดูดซับคาร์บอน มุ่งสู่ Net Zero Emission ตามนโยบายรัฐ

              ประจักษ์ กิตติรัตนวิวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เจริญชัยหม้อแปลงไฟฟ้า จำกัด เปิดเผยว่า ตามที่ประเทศไทยได้กำหนดเป้าหมายมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน ได้กำหนดเป้าหมายลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็นศูนย์ หรือ Net Zero Emission ภายในปี ค.ศ.2065 เนื่องจากระยะที่ผ่านปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) มีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ และจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาในทุกระดับโดยเร็ว และประเทศไทยได้ให้ความสำคัญกับการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างสมดุลและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG ตลอดจนหามาตรการเพื่อแก้ไขปัญหา climate change โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการลดและควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ต้องให้ทุกภาคส่วนเข้ามาส่วนร่วมในการแก้ไข้ปัญหาร่วมกันใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อปรับเปลี่ยนการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและพฤติกรรมการบริโภค

              โดยบริษัท เจริญชัยหม้อแปลงไฟฟ้า จำกัด ได้วิจัยและพัฒนาสร้างผลงานโครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (LESS) ประเภทด้านการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน ของหม้อแปลง Low Carbon ที่มีระบบบริหารจัดการพลังงานสิ้นเปลืองแบบเรียลไทม์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าภายในสถานประกอบการให้อยู่ในระดับพลังงานที่เหมาะสมและเสถียรภาพ ทั้งนี้บริษัทฯ ได้รับการยกย่องจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) TGO มอบประกาศเกียรติคุณให้แก่บริษัทฯ ที่สามารถพัฒนาหม้อแปลงไฟฟ้า Low Carbon ลดก๊าซเรือนกระจกได้ 69.746 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า เป็นนวัตกรรมไทยของคนไทยที่แรกของโลก ลดคาร์บอน ช่วยไทยเร่งสู่เป้าหมาย ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็นศูนย์ “Net Zero Emission” ตามนโยบายของรัฐบาล หม้อแปลงไฟฟ้า Low Carbon ตอบโจทย์การลดคาร์บอนได้ถึง100 ล้านตัน/ปี เหมือนปลูกป่าในเมือง 105,263,158 ไร่ ดูดซับคาร์บอน และวารสาร IEEE พร้อมตีพิมพ์เผยแพร่นวัตกรรมหม้อแปลง Low Carbon เพื่อตอบโจทย์ผู้ประกอบการที่จะพลิกโฉมประเทศสู่เศรษฐกิจสร้างคุณค่า เน้นการเติบโตที่สมดุล ยั่งยืน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น สร้างพลวัตใหม่ให้แก่เศรษฐกิจ และจะเป็นประโยชน์สำหรับภาคธุรกิจทุกขนาด

ShareTweetShare
Previous Post

ม.มหิดล แนะการจัดการ “เมืองน่าอยู่” ต้องควบคู่สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

Next Post

5 นวัตกรรมจากวัสดุเหลือใช้ ต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

4 months ago
30
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
37
น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า
นวัตกรรมด้านพลังงาน

น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า

4 months ago
27
Load More
Next Post
5 นวัตกรรมจากวัสดุเหลือใช้ ต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ

5 นวัตกรรมจากวัสดุเหลือใช้ ต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ

เซอร์คูล่าร์วัน (CircularOne) นวัตกรรมรับคืนบรรจุภัณฑ์เพื่อนำไปรียูสและรีไซเคิลแบบอัตโนมัติ

เซอร์คูล่าร์วัน (CircularOne) นวัตกรรมรับคืนบรรจุภัณฑ์เพื่อนำไปรียูสและรีไซเคิลแบบอัตโนมัติ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.